สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus)
ชุมพล ศรีทอง, นนทวิทย์ อารีย์ชน, ยนต์ มุสิก, วราห์ เทพาหุดี - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus)
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Water Recirculation System for Hybrid Catfish (Clarias macrocephalus X C. gariepinus) Culture
บทคัดย่อ: คุณภาพน้ำในระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมแบบน้ำหมุนเวียน ซึ่งมีค่าปริมาณตะกอนที่แขวนลอยในน้ำสูงถึง 150 mg/L ซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมกับปลาที่เลี้ยงในระบบ ซึ่งผลจากการทดลองกำจัดปริมาณตะกอนที่แขวนลอยโดยการใช้ระบบบำบัดแบบ plate separator กับระบบ swirl ที่ retention time ต่างกัน พบว่าอัตราการกำจัดตะกอนโดยการใช้ระบบ plate separator มีประสิทธิภาพดีกว่าแบบ swirl โดยเฉพาะที่ระดับ retention time ต่ำ ซึ่งมีอัตรากำจัดตะกอนแขวนลอยประมาณ 45% ในขณะที่ระบบ swirl ที่ระดับ retention time สูง มักจะเกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนที่ตกลงบริเวณก้นถังบำบัดขึ้นมากในมวลน้ำ เนื่องจากอิทธิพลของการกระทำของความเร็วของกระแสน้ำ นอกจากนี้พบว่าทั้งสองระบบเมื่อใช้เวลาในการกำจัดตะกอนสารแขวนลอยนานขึ้น มักจะทำให้ตะกอนเกิดการเกาะติดผนังถัง และแผ่น plate อันเนื่องจากการเกิดเมือกในระบบบำบัด ซึ่งตะกอนดังกล่าวจะทำให้ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำลดลงคุณภาพน้ำในระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมแบบน้ำหมุนเวียน ซึ่งมีค่าปริมาณตะกอนที่แขวนลอยในน้ำสูงถึง 150 mg/L ซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมกับปลาที่เลี้ยงในระบบ ซึ่งผลจากการทดลองกำจัดปริมาณตะกอนที่แขวนลอยโดยการใช้ระบบบำบัดแบบ plate separator กับระบบ swirl ที่ retention time ต่างกัน พบว่าอัตราการกำจัดตะกอนโดยการใช้ระบบ plate separator มีประสิทธิภาพดีกว่าแบบ swirl โดยเฉพาะที่ระดับ retention time ต่ำ ซึ่งมีอัตรากำจัดตะกอนแขวนลอยประมาณ 45% ในขณะที่ระบบ swirl ที่ระดับ retention time สูง มักจะเกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนที่ตกลงบริเวณก้นถังบำบัดขึ้นมากในมวลน้ำ เนื่องจากอิทธิพลของการกระทำของความเร็วของกระแสน้ำ นอกจากนี้พบว่าทั้งสองระบบเมื่อใช้เวลาในการกำจัดตะกอนสารแขวนลอยนานขึ้น มักจะทำให้ตะกอนเกิดการเกาะติดผนังถัง และแผ่น plate อันเนื่องจากการเกิดเมือกในระบบบำบัด ซึ่งตะกอนดังกล่าวจะทำให้ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำลดลง
บทคัดย่อ (EN): Waste production in hybrid catfish culture was affected on fish and water quality in the culture system, especially in term of suspended solid (SS) that was higer than 150 mg/L. The removal of suspended solid was studied in pilot installations. The performances of the suspended solid removal unit (swirl and plate seperator system), suspended solid could be efficiently removed by the plate separator (45% of SS removal rate). Higher flow rate in swirl system, the solid that accumulated was suspended in water body by water current. The effciently of removal rate was decreased affter the system running about more than one week in both systems, because SS was fixed with the mucous that occued around the removal unit, and on later, the particle would be floated and moved to the outlet pipe.Waste production in hybrid catfish culture was affected on fish and water quality in the culture system, especially in term of suspended solid (SS) that was higer than 150 mg/L. The removal of suspended solid was studied in pilot installations. The performances of the suspended solid removal unit (swirl and plate seperator system), suspended solid could be efficiently removed by the plate separator (45% of SS removal rate). Higher flow rate in swirl system, the solid that accumulated was suspended in water body by water current. The effciently of removal rate was decreased affter the system running about more than one week in both systems, because SS was fixed with the mucous that occued around the removal unit, and on later, the particle would be floated and moved to the outlet pipe.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2551
การเลี้ยงปลาดุกทะเล (Plotosus canius) ในระบบน้ำหมุนเวียน การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในระบบน้ำหมุนเวียนที่บำบัดด้วยผักบุ้งไฮโดรโพนิกส์และน้ำหมักชีวภาพโดยมีการเสริมปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตในน้ำ การศึกษาสูตรอาหารเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X Clarias gariepinus) เพื่อเลี้ยงเป็นวัตถุดิบสำหรับแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาดุกร้า การวิจัยพัฒนาระบบอะควาโปนิคสำหรับบำบัดน้ำเสียในระบบเลี้ยงปลาดุกลูกผสมแบบใช้น้ำหมุนเวียน การศึกษาดุลออกซิเจนในการเลี้ยงปลากะพงขาวในระบบน้ำหมุนเวียน การพัฒนาฟาร์มต้นแบบการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบน้ำหมุนเวียนเชิงพาณิชย์ การพัฒนาฟาร์มต้นแบบการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบน้ำหมุนเวียนเชิงพาณิชย์ เปรียบเทียบปริมาณสารกลิ่นสาบโคลนในเนื้อปลาดุกบิ๊กอุย( Clarias macrocephalus X Clarias gariepinus )ที่เลี้ยงในระบบชีววิถีทั้งที่ใช้และไม่ใช้ปลานิล( Oreochromis niloticus )เลี้ยงร่วมเพื่อมาตรฐานอาหารปลอ การผสมผสานระบบบำบัดทางชีวภาพลดมลพิษในบ่อรับน้ำทิ้งจากคอกปศุสัตว์ เพื่อ นำมาใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงปลาระบบน้ำหมุนเวียน การศึกษาระดับน้ำที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและค่าการใช้น้ำในการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในระบบบ่อคอนกรีต
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก