สืบค้นงานวิจัย
การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด
วาสนา สิงห์ดวง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด
ชื่อเรื่อง (EN): Utillization of Tamarind Wood Vinegar for Cultivation of Hed-cone-noi (Coprinopsis cinerea),Hed-fang (Volvariella volvacea) grow on Hyacinth Pots for Fruitingbody Development
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วาสนา สิงห์ดวง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การเพาะเห็ดโคนน้อย (Coprinopsis cinerea) และเห็ดฟาง (Volvariella volvacea) ในประเทศ ไทย มีการทำเป็นธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็ก นอกจากนี้เห็ดทั้งสองชนิดยังใช้เป็นแม่แบบของสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษา การเจริญของเห็ดราชั้นสูง (agarics) ในคลาสเบสิติโมไมชิส (basidiomycctes) อย่างกว้างขวาง วัสดุเหลือทิ้ง ทางการเกษตรหลายชนิดจำพวกลิกโนเซลถูโลสยังมีสารอาหารเป็นจำนวนมากที่มีคุณค่าและสามารถใช้ไนการ เงริญของเห็ดไว้ ในการศึกมาครั้งนี้จึงมีความสนใจศึกมาสภาวะแวคล้อมที่มีค่อการเจริญของเห็ดทั้งสองชนิด ไห้เก่ คุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และความเข้มแสง นอกจากนี้ยังรวมถึงการเกิดของคอกเห็ดบนกระถาง โคย คิดจากจำนวนดอกเห็ดที่เจริญขนวัสดุเพาะที่ทำเป็นกระถางเพาะจากวัสดุเหลือทิ้งจากธรรมชาติ ละคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ของกระถางที่พบว่ามีเห็คเจริญได้ ทำการบ่มเชื้อเห็คที่ผสมกับวัสดุเพาะที่ทำเป็นกระถางในสภาวะ แวคล้อมเดียวกัน โดยบ่มไว้ในกล่องพลาสติกที่มีขนาค 4 ชั้น ทำการเครียมวัสดุพาะเห็ดโดยเครียมผักตบชวา และฟางข้าวหมักจากการสับหักตบชวา และฟางข้าวสดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆและเก็บวัสดุเหล่านี้ไว้ในถุงพลาสติก ป็นเวลา 2 เคือน และเก็บในที่มือากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อให้กิดกระบวนการหมักชนิดใช้อากาศ (acrobed fermentation) เตรียมส่วนผสมสำหรับเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุสดและหมักในอัตราส่วน 1:! ศึกษาการเจริญของ เสื้อเห็คทั้งสอง โคยวัสดุเพาะมีส่วนผสมของผักตบชวา ฟางข้าว และเชื้อเห็ดที่ทำเป็นรูปทรงกระถางที่มีขนาค นผ่าศูนย์กลาง 1! เซนติมตร ความสูง 10 เซนดิมตร และดวามหนา 2 เซนติเมตร ศึกษาหาปฏิสัมพันธ์ ระหว่างการเจริญของเส้นใยเห็ดโดนน้อยและเห็ดฟางที่มีจีนัสต่างกัน เมื่อเพาะในกระถางเดียวกัน สภาพการ พาะเดียวกัน โดยแบ่งการทดลองหลักเป็น 6 วิธีการทคลอง คังนี้ ส่วนผสมของเชื้อเห็ดฟาง ผักตบชวาและฟาง ข้าว (105:05) ส่วนผสมของเชื้อเห็ด โดนน้อย ผักคบชวาและฟางข้าว (1:0.50.5) ส่วนผสมของเชื้อเห็ด โคน น้อย เห็ดฟาง ผักตบชวา และฟางข้าว (0.590.5:0.5:0.1) ส่วนผสมของเชื้อเห็ดฟาง ผักคบชวา ฟางข้าว (1 0.5:0.5) และน้ำสัมควันไม้มะขามเจืองาง 0.5 % ส่วนผสมของเชื้อเห็อโนน้อย ผักตบชวาและฟางข้าว (1:0.5:0.5) และ น้ำสับควันไห้มะขามเลืองาง 05 % ส่วนผสมของเชื้อเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ผักตบชวาและฟางข้าว (0Ssa.ร50.ร:0.5) และน้ำสัมควันไม้มะขามเจืองาง 0.5 % ศึกษาปัจจัยของสภาพแวคล้อม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น สัมพัทธ์ ที่มีต่อการเจริญของเห็ดเป็นระยะเวลา 1 เดือน ผลการทคลองพบว่ามีการเจริญของเส้นใยเห็ดบน กระถางเพาะทุกใบ คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นด์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P S 0.05) ศึกพาสมบัติทางกายภาพของ วัสดุพาะเห็ดที่ทำเป็นรูปทรงกระถางในแต่ละสิ่งทดลองก่อนนำไปใช้เพาะเห็ด พบว่า มี ค่ความเป็น กรต-ด่าง เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 7.41 0.18 และ 8.43 +0.0 ความชื้นเฉลี่ย 75.03 * 1.58 % และ 86.09 0.63 % และความเข้ม แสงเฉลี่ยสูงสุด ร.35 : 0.33 และต่ำสุด 0.20 = 0.03 ลักซ์ จากผลการทคลองสรุปพบว่าการเจริญของเห็ดฟางมื การจริญได้ดีกว่าเห็ดโดนน้อยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิฐ (P S 0.05) และการศึกษาหาปฏิสัมพันธ์ระหว่างการ เจริถุของเส้นใยเห็ดโคหน้อยและเห็ดฟางที่มีจีนัสต่างกัน พบว่ามีการเจริญตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (อ < 0.05) ซึ่งเป็นผลจากชนิดของเชื้อเห็ดแต่ละชนิดมีความสามารถในการเจริญบนวัสดุเพาะไค้แตกค่างกัน นอกจากนี้ยังพบว่าน้ำสัมควันไม้มะขามเจือจาง 0.5 *. มีผลต่อการเจริญของเส้นไยเห็ดจนพัฒนาเป็นดอกเห็ด ของเห็ดสองชนิคเร็วขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P S 0.05)
บทคัดย่อ (EN): Hed-cone-noi (Coprinopsis cinerea) and Hed-fang (Volvariella volvacea) in Thailand were grown in small family businesses. Both fungi are also world wide used as the model organisms to study fruiting body development in the homobasidiomycete fungi (Agaricomycotina). The various kinds of lignocellulose agricultural wastes have enrichsuch high nutrition for mushrooms growing. In this study of the growth conditions ; temperature, humidity and light intensity were observed and also amounth of mushrooms which referred to the percent of the cultural pots had been occurred mushroom growing. The cultures were incubated in the same environmental conditions that all kept in plastic containers with four large plastic drawers as mushroom incubator. Preparing of fermented water hyacinths and rice straw residues as substrates. All substances were cut into small pieaces and put them in plastic bag for 2 months for acrobed fermentation. Firesh and fermented substances of each preparing substrates were provided into the ratio of 1:1. The growth of two strains were in compairison by growing them on mixture of water hyacinhts and rice straw were mixed with cultures in a pot shape ; in diameter of 11 cm., the height of 10 cm. and 2 cm. of thickness. The interaction of differential mycerial genuses were observed on the same growth conditions. The mixtures were provided in 6 methods ; a mixed culture of Volvariella volacea, water hyacinths and rice straw (1:0.5:0.5), a mixed culture of Coprinopsis cinerea and water hyacinths and rice straw (1:0.5:0.5), mixture of Coprinopsis cinerea, Volvariella volvacea, water hyacinths and rice straw (0.5:0.5:0.5:0.5), a mixed culture of Volvariella volacea, water hyacinths, rice straw (1:0.5:0.5), adding 0.5 % ditlution of Tamarin wood vinegar, a mixed culture of Coprinopsis cinerea and water hyacinths and rice straw (1:0.5:0.5), adding 0.5 % ditlution of Tamarin wood vinegar and mixture of Coprinopsis cinerea, Volvariella volvacea, water hyacinths and rice straw (0.5:0.5:0.5:0.5), adding 0.5 % ditlution of Tamarin wood vinegar. Growth condition of temperature, humidity and were observed every day for one month. The results showed all cultures were grown well on natural pots 100 percent with significant with the control (p S 0.05). The physical properties of all substates were evaluated by rating of calculating the mean of pH was between 7.41 + 0.18 to 8.43 ? 0.05 moisture content were between 75.03 = 1.58 % to 86.09 0.63, temperatures gnwing were between 38.7 t0.1 C and 32.83 - O.2N and light itensty were ste OWi comparative high and low : 5.35 + 0.33 and 0.20 + 0.03 Iux. The efficiency of culture growing were shown significant (p S 0.05), the cultures of Volvariella volvacea were good growing on pot containers significant (p S 0.05). This is interaction between genus have effected growing of different cultures and substrates. Adding Tamarin wood vinegar promoted the effective of mushroom hyphal faster growing were shown the result with significant (p S 0.05) of both cultures, Volvariella volvacea and Coprinopsis cinerea growed on natural pots adding wood vincgar were showed faster fruiting body production than without wood vinegar.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
31 มีนาคม 2554
เห็ดที่รับประทานได้และที่น่าสนใจ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย เห็ดบางชนิดในสกุล Ganoderma และสกุลใกล้เคียง ชนิดของเห็ดสกุล Lepiota และสกุลใกล้เคียงในประเทศไทย การทดสอบเครื่องอัดขี้เลื้อยสำหรับการเพาะเห็ด กรรมวิธีเตรียมฟางไอโซโทป 15 N ชนิดของเห็ดมีพิษ การศึกษาการเพาะเห็ดฟาง โดยใช้ก้อนเชื้อเห็ดที่ทิ้งแล้ว การใช้น้ำส้มควันไม้ และน้ำส้มควันไม้กลั่นจากไม้มะขามในการผลิตเห็ด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก