สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภคสด
รักชัย คุรุบรรเจิดจิต - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภคสด
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding of Sweet Potato (Ipomoea batatus L.) for Fresh Consumption
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รักชัย คุรุบรรเจิดจิต
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Rakchai Kurubunjerdjit
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เพื่อให้ได้พันธุ์มันเทศสายพันธุ์ใหม่ที่เหมาะสมสำหรับการบริโภคสด ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์เดิม มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร ได้ร่วมกัน ปรับปรุงพันธุ์มันเทศ โดยนำพันธุ์มันเทศที่มีลักษณะต่าง ๆ ที่ดีจากในและต่างประเทศมาผสมข้ามพันธุ์ ปลกู และคัดเลอื กพันธุล์ กู ผสม ตามหลกัเกณฑ์ที่กำหนด เปรียบเทียบพันธุ์และคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดีไว้ 6 สายพันธุ์ ทำการทดสอบพันธุ์ 3 แห่งที่มีสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศแตกต่างกัน ได้สายพันธุ์ที่ดีเด่น 3 สายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์ สท.03 สท.10 และ สท.18 จากการนำไปทดสอบในไร่เกษตรกรเปรียบเทียบกับพันธุ์ท้องถิ่น 6 แห่ง ทั้งในด้านการเจริญเติบโต ผลผลิต คุณภาพในการบริโภคการยอมรับของเกษตรกรและผู้บริโภค ได้พันธุ์ที่เหมาะสม 2 สายพันธุ์ ได้แก่สายพันธุ์ สท.03 มีลักษณะเด่นคือ เจริญเติบโตเร็ว คลุมพื้นที่และวัชพืชได้ดี ทนทานต่อด้วงงวงมันเทศ ผิวเปลือกมีสีขาว สีเนือ้ เหลืองเมือ่ สุก เนือ้ เหนียวนุม่ รสชาติดีผูบ้ ริโภคยอมรับสูง ผลผลิตจากการทดสอบพันธุ์3 พื้นที่ เฉลี่ย 3,884 กก./ไร่ ขณะที่ผลผลิตเฉลี่ยในแปลงเกษตรกรท่ปี ลกู ทดสอบ 1,619 กก./ไร่ และสายพนั ธ์ุ สท.18 มลี กั ษณะเดน่ คอื เจรญิ เตบิ โตดีผิวเปลือกสีแดง เนื้อสีเหลือง เนื้อเหนียวละเอียดรสหวาน รสชาติดี มีคะแนนความนิยม 8 จาก 10คะแนน มีสารเบต้าแคโรทีน 480 ไมโครกรัม/มันเทศ 100 ก. โปรตีน 1.2 ก./มันเทศ 100 ก.สูงกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ ผลผลิตจากการทดสอบพันธุ์ 3 พื้นที่ เฉลี่ย 2,900 กก./ไร่ เปรียบเทียบกับแปลงเกษตรกรที่ได้ผลผลิตเฉลี่ย 1,727 กก./ไร่ คำหลัก: มันเทศ การคัดเลือกพันธุ์ บริโภคสด
บทคัดย่อ (EN): Sukhothai Horticultural Research Center and Phichit Agricultural Research and Development Center conducted a sweet potato breeding program in order to select new varieties which have good quality for fresh consumption and high yield. Crossing between local cultivars and introduced cultivars has been done. The hybrids were evaluated and compared with the local cultivars. The top six hybrids were selected and tested under 3 different locations (regional trial) to compare quality and yield. Three promising hybrid lines (ST 03, ST 10 and ST 18) were selected and tested in 6 farmer plots. Growth, yield, quality and consumer acceptability of those lines were record and compared with local cultivar. The results showed that ST 03 and ST 18 were suitable for fresh consumption. ST 03 had high growth rate, enable it to cover the ground faster which prevent the problem from weed. It tolerated to sweet potato weevil better than other cultivars. White skin and yellow flesh with good eating quality were found in ST 03. Those average yield from regional trial and farmer plots were 3,884 and 1,619 kg/rai, respectively. ST 18 grew well with red skin, yellow flesh and good eating quality. It also contained high beta carotene (480 μg) and protein (1.2 g) per 100g of fresh sweet potato. The average yield from regional trial and farmer plots were 2,900 and 1,727 kg/rai, respectively. ST 03 and ST 18 cultivars are recommended to farmers to replace the local cultivars.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภคสด
กรมวิชาการเกษตร
2558
เอกสารแนบ 1
2558A17002048 การปรับปรุงพันธุ์สับปะรดเพื่อการบริโภคผลสดและอุตสาหกรรมแปรรูป 2559A17002016 การปรับปรุงพันธุ์สับปะรดเพื่อการบริโภคผลสดและอุตสาหกรรมแปรรูป การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูโดยวิธีผสมผสานเพื่อควบคุมการลงทำลาย ของด้วงงวงมันเทศ (Cylas formicarius (F.) ในมันเทศที่มีศักยภาพในการผลิตไบโอเอทานอลทั้ง 5 สายพันธุ์ โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์อ้อย ปริมาณคาร์โบไฮเดรตในมันเทศพันธุ์ต่าง ๆ โครงการปรับปรุงพันธุ์ทานตะวัน การปรับปรุงพันธุ์ปลาไนโดยวิธีการคัดเลือกแบบหมู่ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อนสำหรับตลาดฝักสดและอุตสาหกรรมแปรรูป โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ชา โครงการวิจัย : การปรับปรุงพันธุ์ยางพารา กิจกรรม : การปรับปรุงพันธุ์ยางแหล่งปลูกยางใหม่ (การทดลอง)

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก