สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและการใช้ประโยชน์สบู่ดำ
ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและการใช้ประโยชน์สบู่ดำ
ชื่อเรื่อง (EN): The Development of Post-harvest Technology and Utilization of Physic Nut
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ประสิทธิ์ โสภา
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัชนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้แก่พืชสบู่ดำเละเกษตรกรรายย่อย เพื่อแก้"ขปัญหาการขาดแคลนพลังงานที่ ได้จากนั้ มัน และพัฒนาระบบการผลิตและโรงงาน ด้นแบบในการผลิตน้ำ มันสบู่ดำระดับอุตสาหกรรมชุมชน วิธีการศึกษาได้มีการวางแผน ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบ และ ชุดผลิตน้ำ มันสบู่ดำต้นแบบ ไส้แพ้ ฆนาเครื่องกะเทาะเมล็คสบู่ดำเครื่องลดความชื้นและให้ ความร้อนแก่เมล็ดสบู่ดำ เครื่องสกัดน้ำ มันสบู่ดำและเครื่องกรองและปรับสภาพน้ำ มันสติขมื ขั้ นตอนดังนี้ คือ ศึกขข้อมูลทั่วไป ข้อที่ใช้ในการออกแบบ ออกแบบและพัฒนาเครื่องต้นแบบ ทดสอบและประเมินผล ตลอดจนเผยแพร่เทคโน โลยีการผลิตสู่เกษตรกร ผลการออกแบบและพัฒนาเครื่องกะเทาะเมล็ดสบู่ดำ จากการประเมินผลการ ทดสอบเครื่องกะเทาะเมล็ดสบู่ดำ พบว่ระดับอัตราป้อนที่หมาะสม คือ ระดับอัตราการป้อน 300 กิโลกรัมต่อชั่วโมงการกะเทะ 97 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์การไม่กะเทาะ 1.87 เปอร์เซ็นต์ และการ สูญเสียรวม 0.019 เปอร์เซ็นต์ สำหรับการออกแบบและพั ฒนาครื่องเครื่องลดความชื้นและให้ความ ร้อนแก่เมล็ดสบู่ดำพบว่าในการลดความชื้นของเมล็คภายหลังจากการกะเทาะสามารถลดความชื้น ของเมล็ดลงได้จนเหลือประมาณ 8-9 เปอร์เซ็นต์ ภายในเวลา 60-80 นาที และในขั้ นตอนการอบให้ ความร้อนเมล็ดสบู่ดำก่อนนำไปสกัดน้ำ มันนั้ น พบว่า เมื่อนำเมล็คสบู่ดำที่ผ่านการให้ความร้อน น้ำ มันจะออกได้ง่าขและให้ปริมาณน้ำ มันสูงกว่าเมล็ดสบู่ดำที่ไม่ผ่านการให้ความร้อนโดยอุณหภูมิ ที่ให้เมล็ดสบู่ดำมีเปอร์เซ็นต์น้ำ มันที่เหมาะสมที่สุดคือ0 องศาเซลเชียสซึ่งจะให้ปริมาณน้ำ มันสูง ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ใช้เวลาในการให้ความร้อน 20 นาที ส่วนการออกแบบและพัฒนาเครื่องสกัด น้ำ มันจากเมล็ดสบู่คำภายหลังได้ทดสอบและประเมินผล พบว่าควรใช้ความเร็วรอบในการสกัด น้ำ ามั ที่เหมาะสม คือ 30 รอบต่อนาที โดขความสามารถในการสกัดน้ำ มันของเครื่อเท่ากับ 2.85 ลิตรต่อชั่วโมง และจากการออกแบบและพัฒนาเครื่องกรองและปรับสภาพน้ำ มันสบู่ดำ โดย ทดสอบและประเมินผลคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำ มันสบู่ดีท่าควันดำและอัตราการสิ้นเปลือง น้ำ มันเชื้อเพลิงพบว่า น้ำ มันสบู่ดำจากการตกตะกอนซี่4 ชั่วโมง มีค่าความหนืดเท่ากับ 54.11 ค่าความสว่างและ โทนสีใกล้เคียงกับน้ำ มันดีเซลโดยค่าควันดำเฉลี่ยที่ 2,200 รอบต่อนาทีของ เครื่องขนต์ทดสอบเท่ากับ 18.87 เปอร์เซ็นต์ซึ่งต่ำกว่าน้ำ มันดีเซล แลษีอัตราการสิ้นเปลืองน้ำ มัน เชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยเท่ากับ600 มิลลิลิตรต่อชั่ วโมงซึ่งใกล้เคียงกับน้ำ มันดีเซล
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและการใช้ประโยชน์สบู่ดำ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
30 กันยายน 2553
การใช้ประโยชน์จากสบู่ดำในชุมชน การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับกุ้งขาว การรักษาคุณภาพของข้าวกล้องหลังการเก็บเกี่ยวโดยการใช้เทคโนโลยีการฉายรังสีแกมมาเพื่อความมั่นคงทางอาหาร การเพิ่มศักยภาพการผลิตเมล็ดสบู่ดำในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การใช้ประโยชน์จากน้ำมันสบู่ดำในการผลิตสินค้ามูลค่าเพิ่ม การวิจัยและพัฒนาชุมชนต้นแบบในการใช้พลังงานทดแทนจากสบู่ดำ การศึกษาและสกัดเอนไซม์ไลเปสจากเมล็ดสบู่ดำเพื่อควบคุมคุณภาพน้ำมันและเพิ่มทางเลือกในการใช้ประโยชน์ การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะม่วงน้ำดอกไม้และปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพการส่งออก การวิจัยและพัฒนาเครื่องยนต์ดีเซลรอบสูงเพื่อใช้กับเชื้อเพลิงน้ำมันสบู่ดำ การหาปริมาณการใช้น้ำของสบู่ดำ (ปีที่3)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก