สืบค้นงานวิจัย
ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798)
ปราณี อ่อนแก้ว, สุกัญญา เจริญศรี, ศราวุธ สังข์แก้ว - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798)
ชื่อเรื่อง (EN): EFFECT OF SALINITY ON GROWTH AND SURVIVAL OF MANTIS SHRIMP ( Harpiosquilla raphidea ,Fabricius 1798)
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea, (Fabricius,1798)ที่ระดับความเค็มต่างๆกัน ได้ด าเนินการทดลอง ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง ชายฝั่งสงขลา โดยน าลูกพันธุ์กั้งตั๊กแตนอายุ 5 วันโดยใช้ตู้กระจกขนาด 0.5x1 x 0.5เมตร จ านวน 15ตู้ เพิ่ม ออกซิเจนในน้ าโดยใช้หัวทราย ท่อระบายน้ า ใส่ตะกร้าอวนม่านเขียว ขนาดตาเล็กกว่าลูกพันธุ์กั้งตั๊กแตน ขนาด10x10 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร 20ตะกร้า/ ตู้ และใส่ลูกพันธุ์กั้งตั๊กแตนอายุ 5 วัน 1 ตัว/ตะกร้า มา ทดลองเลี้ยงที่ระดับความเค็มของน้ าต่างๆกัน5 ระดับ (treatment) ได้แก่ 10, 15, 20, 25 และ 30 ส่วนในพัน แต่ละระดับมีจ านวน 3 ซ้ า (replication) โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Random Design) ให้อาหารวันละ 2 มื้อเวลา 09.00 น.และ 14.00 น. ให้อาหารเม็ด อาร์ทีเมีย,ชั่งวัดขนาดความยาว และน้ าหนักของลูกพันธุ์กั้งตั๊กแตน ทุก 15 วันระยะเวลา 2 เดือน เมื่อสิ้นสุดการทดลอง น้ าหนักเฉลี่ยของกั้งตั๊กแตนที่ระดับความเค็ม 10, 15, 20, 25 และ 30 ส่วน ในพัน เท่ากับ 0.25, 0.48, 0.40, 0.39 และ 0.32 กรัม ตามล าดับ เมื่อทดสอบทางสถิติพบว่า ไม่มีความ แตกต่างทางสถิติ (p>0.05) ระหว่างการเลี้ยงที่ระดับความเค็ม ความยาวเฉลี่ยของกั้งตั๊กแตนเมื่อสิ้นสุดการ ทดลองพบว่ามีความความยาวเฉลี่ยของกั้งตั๊กแตนเท่ากับ 2.86, 3.72, 3.60, 3.44 และ 3.42 เซนติเมตร ตามล าดับ จากการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ(p>0.05) ระหว่างการเลี้ยงที่ระดับ ความเค็ม 10,15, 20, 25 กับ30 ส่วนในพัน และอัตราการรอดตายที่ระดับความเค็ม 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 ส่วนในพันคือ 35, 65, 52, 50, และ 48% ตามล าดับ จากการวิเคราะห์ทางสถิติอัตราการรอดตายของ กั้งตั๊กแตนที่เลี้ยงที่ระดับความเค็ม 10, 15, 20 กับ 25 และ 30 ส่วนในพัน ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (p>0.05)
บทคัดย่อ (EN): Effect of salinity on growth and survival of Mantis Shrimp ( Harpiosquilla raphidea ,Fabricius 1798)was conducted at Songkhla Coastal Fisheries Research and Development Center for 8 weeks.Three glsss boxs in each of five treatments were controlled at salinity levels of 10, 15, 20, 25 and 30 ppt.The postlarva 3 with average initial weight of 0.08 gram and average initial length of 1.44 centimeter were stocked in 25 litre glsss boxs at a density of 1 individual/box. The Mantis Shrimp were fed artemia and supplementary feed. The experimental period was 8 weeks in which growth, survival rate, and water quality was investigated. The result shown that the mean final weight of Mantis Shrimp at 10, 15, 20, 25 and 30 ppt were 0.25, 0.48, 0.40, 0.39 and 0.32gram, respectively. There was no significant difference (p>0.05) between the treatment at 10, 15, 20,25 and 30 ppt. The final length of Mantis Shrimp at 10, 15, 20, 25 and 30 ppt were 2.86, 3.72, 3.60, 3.44 and 3.42 centimeter respectively. There was no significant difference (p>0.05) between the treatment at 10, 15, 20,25 and 30 ppt. And the final survival rate at 10, 15, 20, 25 and 30 ppt treatment were 35, 65, 52, 50, and 48% %, respectively. There was no significant difference (p>0.05) between the treatment at 10, 15, 20,25 and 30 ppt.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798)
กรมประมง
31 มีนาคม 2555
กรมประมง
ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ผลของความเป็นด่างและความเค็มของน้ำทะเลต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของลูกกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาหมอ "ชุมพร 1" การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายของการเลี้ยงปลานิลร่วมกับกุ้งขาวแวนนาไมในความหนาแน่นที่ต่างกันในน้ำความเค็มต่ำ การอนุบาลกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ผลของอาร์ทีเมียต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และเวลาการพัฒนาเข้าระยะโพสท์ลาร์วาของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) การเพาะเลี้ยงกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius,1798 การตอบสนองในด้านการเจริญเติบโตและการรอดตายของปลากดแก้วที่ผ่านการคัดเลือก การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินที่ระดับความเค็มต่างๆ การศึกษาพลวัตความเค็มของดินและน้ำกับการเจริญเติบโตของข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก