สืบค้นงานวิจัย
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน
วิมลพรรณ รุ่งพรหม - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ชื่อเรื่อง: สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน
ชื่อเรื่อง (EN): Bioactive Compounds for Sustainable Agricultural Development
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิมลพรรณ รุ่งพรหม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์ เพื่อเสาะหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อใช้ในทางการเกษตร จากการทดสอบ ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว (Biopolaris oryzae) พบว่าสารสกัดเฮกเซนจากใบมะ ตะแสคงฤทธิ์ยับยั้ง เชื้อ Biopolaris onzae สูง ที่ความเข้นข้น 100 ppm สามารถขับยั้งได้ถึง 89 % จึงได้ ทำการแยกสารและทำสารให้บริสุทธิ์ โดยเทกนิตทางโครมาโทกราฟี สามารถแยกสารได้ 4 ชนิด สามารถหาสูตร โกรงสร้งได้โดยเทคนิดทางสเปกโทรสโกปี ได้แก่ บิวเลียร์แมกเนติกเร โซแนนซ์ และแมสสเปกโทรเมทรี พบว่า สารทั้ง4 ชนิดคือ สารประกอบไตรเทอร์ปืนอยค์ Friedelan-33-01 (1) สารประกอบไพแรนโนคูมริน ชนิดใหม่ (2) สารประกอบแซนโทน 2 ชนิด คือ 3 เอทิส-4- ไฮดรอกชี- แซนโทน (3) และ 6-ดื่ออกซี-แกมมา-แมงโกสหิน (4) แมคูลาแซนโทน (5) และ 1,5 ไดไฮดรอกซี แซบโทน (6) สำหรับสาร 2 ซึ่งเป็นสารใหม่สามารถระบุตำแหน่งของโปรตรอน และการ์บอนด้วย นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ 2 มิติ พร้อมทั้งทำปฎิกิริยาเดมีเพื่อหาตำแหน่งหมู่แทนที่ และพบว่าสาร 34 และ 5 แสดงการขับยั้งเชื้อรา Biopolaris oryzae ที่ความเข้มข้น 100 ppm ได้ 15% 43% และ 52% ตามลำดับ นอกจากนี้ฮังพบว่าสารสกัดเอทานอลจากส่วนรากของมะคะ ยังแสดงฤทธิ์ยับยั้ รั้งการ เจริญเติบโตของด้อยติ่ง (Ruelia uberase L.) และหญ้าอะตราตัม( Paspalum aratum) ได้ดีอีกด้วย
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
30 กันยายน 2551
ภาชนะรองรับทางชีวภาพอย่างสร้างสรรค์เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากมะดะเพื่อต้านเชื้อ Biopolaris Oryzae สาเหตุโรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว พัฒนาการวิเคราะห์โปรตีนในอาหาร การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ พัฒนาการสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในจังหวัดพิษณุโลก ศูนย์สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานเพื่อการเกษตร พลวัตและการจัดการการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พันธุศาสตร์ของลักษณะทางการเกษตรต่างๆ ในงา ศักยภาพของแบคทีเรียในลำไส้ไส้เดือนดินท้องถิ่นไทยต่อการเกษตร ฟิล์มวัสดุประกอบชีวภาพเพาะต้นกล้าจากเปลือกข้าวโพด

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก