สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาเครื่องแยกเมล็ดออกจากเนื้อมะขามหวานสำหรับใช้ในการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปมะขามหวานจังหวัด เพชรบูรณ์
วิทยา หนูช่างสิงห์, หทัยนุช จันทร์ชัยภูมิ, ธนภัทร มะณีแสง - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาเครื่องแยกเมล็ดออกจากเนื้อมะขามหวานสำหรับใช้ในการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปมะขามหวานจังหวัด เพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Seed Separating Tamarind Machine For Processing Product of Tamarind Processed Entrepreneur Groups in Phetchabun.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการออกแบบและพัฒนาเครื่องต้นแบบแยกเนื้อมะขามหวาน โดยใช้การ ปรับปรุงความผิดพลาดจากเครื่องต้นแบบ วัตถุประสงค์ถูกแบ่งออกเป็น 3 ข้อคือ การศึกษาลักษณะ ทางกายภาพของฝักมะขามหวานพันธุ์ศรีชมภู การสร้างเครื่องจักร และการทดสอบและประเมิน ประสิทธิภาพของเครื่องจักร โดยทดลองกับมะขาม 3 กลุ่มคือ กลุ่ม A ช่วงความโต 12.5 – 13 มิลลิเมตร. กลุ่ม B ช่วงความโต 13.1 – 14 มิลลิเมตร และ กลุ่ม C ช่วงความโต 14.1 – 15 มิลลิเมตร การศึกษาลักษณะทางกายภาพพบว่าฝักของมะขามไม่ได้ตรงเสมอไปบางช่วงจะมีโค้งงอบ้าง เล็กน้อย ส่วนความหนาที่เป็นเนื้อและเมล็ดของมะขาม ตลอดความยาวของฝักมะขามจะมีความโต ความหนาของเนื้อและเมล็ดมะขามไม่เท่ากัน ในขั้นตอนประเมินประสิทธิภาพแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ กรรมวิธีการเตรียมวัตถุดิบและ การทดลองใช้งาน โดยกรรมวิธีการเตรียมวัตถุดิบที่ดีที่สุดคือ การนามะขามไปตากแดด ซึ่งเนื้อ มะขามจะแห้ง ยังคงรูป และยังเนื้อยังแน่นขึ้น ส่วนขั้นตอนการประเมินประสิทธิภาพของเครื่อง ซึ่ง จากการทดสอบพบว่า การทดสอบการทางานโดยใช้ระดับความเร็วรอบที่มีความแตกต่างกัน ปัญหาจากการใช้งานคล้ายกันในความเร็วทุกระดับคือ เมื่อกรีดมะขามใบมีดจะมีแรงเสียดทานทา ให้ความเร็วรอบจะลดลงจึงต้องคอยทาความสะอาดใบมีดอยู่เป็นระยะ อีกสาเหตุที่สาคัญคือ ตลอด ความยาวฝักมะขามบางฝักจะมีร่องลึกอยู่ ซึ่งใบมีดที่ใช้กรีดมีระดับความสูงเดียว ซึ่งทาให้ใบมีด กรีดไม่ถึง ส่วนความเร็วที่ดีที่สุดของการกรีดคือความเร็วระดับสูงสุด โดยข้อดีของการใช้ความเร็ว ในระดับที่สูงที่สุดคือ จะสามารถกรีดได้เร็วกว่าการใช้ความเร็วระดับที่ต่ากว่า ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานของเวลาในการกรีดก็ต่ากว่าเช่นเดียวกัน แต่ข้อเสียของการใช้ความเร็วรอบในระดับที่สูง คือ โอกาสที่ฝักมะขามที่กรีดก็จะกระเด็นออกจากฐานก็จะมีสูงขึ้นตามไปด้วย
บทคัดย่อ (EN): This research is to design and develop a prototype Seed Separating Tamarind Machine For Processing Product of Tamarind Processed. The Machine is developing error from the prototype old generation. The aim divide is three terms include intro study the physical strain of sweet tamarind pods Sri Chan. Building machines and testing and evaluating the performance of the machines.The experimenting with tamarind three groups: include intro Group A range grew from 12.5 to 13 mm. Group B range grew from 13.1 to 14 mm, and Group C range was 14.1 to 15 millimeters, the physical characteristics found pods of the tamarind is not always straight. Some will have to bend a little. The thickness of the flesh and seeds of the tamarind. The entire length of tamarind pods are grown thick tamarind pulp and seeds are not equal. The performance evaluation machine process is divided into two phases is he preparation process and experiment. The best method of preparation is bringing the sun of tamarind which is dry and the meat also remains tight. The process of evaluating the performance of the machine. The tests found The test works by using the speed is different. The problem of the use of all levels are similar in speed. The tamarind tree cutters are friction makes the speed is reduced, thus having to clean the blade periodically. Another important cause is the entire length tamarind pods are some grooves deeply. This blade is used to elevation cut. This causes the blade to sharpen up The best speed of the cut is the highest speed. The advantages of using speed level is the highest. The Machine can cut faster than the speed the lower level. The standard deviation of the time to cut it lower as well. The disadvantage of using the speed is high. Tamarind pods chance to cut it to rebound from the base will be higher as well.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-12-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาเครื่องแยกเมล็ดออกจากเนื้อมะขามหวานสำหรับใช้ในการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปมะขามหวานจังหวัด เพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
30 กันยายน 2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ของมะขาม การพัฒนารูปแบบการตัดแต่งต้นมะขามหวานเพื่อควบคุมความสูงและทรงพุ่มแบบมีส่วนร่วมกับเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกมะขามหวาน จังหวัดเพชรบูรณ์ การพัฒนาผลผลิตและคุณภาพมะขามหวานของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนมะขามหวาน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดเพชรบูรณ์ สภาพการผลิตมะขามหวานของเกษตรกรในจังหวัดมุกดาหาร การประยุกต์ใช้สารให้ความหวานทดแทนน้ำตาลที่มีดัชนีน้ำตาลต่ำในผลิตภัณฑ์มะขามแก้ว การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีส่วนประกอบของรำข้าวและมะขาม โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตมะขามหวานอย่างมีคุณภาพ สภาพการผลิตมะขามหวานของเกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2546 โครงการวิจัยและพัฒนามะขามเปรี้ยว การพัฒนาเครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติสำหรับการคว้านเมล็ดและปอกเปลือกเงาะเพื่อการแปรรูปผลผลิตระดับวิสาหกิจชุมชน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก