สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของการให้ปุ๋ยทางดินและทางใบต่อผลผลิตถั่วเขียว
สันติภาพ ปัญจพรรค์ - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของการให้ปุ๋ยทางดินและทางใบต่อผลผลิตถั่วเขียว
ชื่อเรื่อง (EN): Effect on Mungbean Yield of Fertilizer as a Foliar Spray and Soil Application
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สันติภาพ ปัญจพรรค์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Santibhab Panchaban
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย เราใช้เมล็ดเป็นอาหารได้หลายชนิด ต้นถั่วยังเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน โดยเฉพาะดินทรายที่มีอยู่มากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทราบถึงวิธีและอัตราการให้ปุ๋ยแก่ถั่วเขียวซึ่งอาจนำมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตได้ โดยได้ทดลองในฤดูฝนปี 2525 วางแผนการทดลองแบบ CRD และจัด treatment แบบ factorial 3 x 3 โดยมีระดับการให้ปุ๋ยทางดิน 3 ระดับ และพ่นให้ทางใบอีก 3 ระดับ ใช้ถั่วเขียวพันธุ์ MG 50-10 A ปลูกบนดินร่วนทรายชุดโคราชที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ที่บ้านม่วง อ. เมือง จ. ขอนแก่น ผลจากการทดลองปรากฏว่า การให้ปุ๋ยทางดินในระดับต่าง ๆ ทำให้ผลผลิตถั่วเขียวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ แต่การให้ปุ๋ยทางใบในระดับต่าง ๆ ไม่ทำให้ผลผลิตแตกต่างกันทางสถิติ นอกจากมีแนวโน้มที่ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The effect on mungbean yield of an N.P.K. fertilizer mixture was compared when applied directly to the soil by banding and when applied as a foliar spray. Three soil treatments were examined; a non-fertilized control and an mixture of ammonium phosphate, single superphosphate and potassium chloride to give a N : P2O5 : K2O application rate of 18.75 : 56.25 : 37.5 kg/ha in one instance, and 37.5 : 112.5 : 75.0 kg/ha in another. The foliar application comprised and N : P : K mixure in the ratio of 15 : 30 : 15 in a solution at concentration 50 g/20 litres solution; three spray treatments were examined, zero, two and four aplications. The first application was given at three weeks and then at weekly intervals as required. The soil was an infertile, sandy-loam in the Korat series at Khon Kaen in Northeast Thailand. There was no statistically significant response to the foliar method of fertilizer application. A yield increase of 111 percent resulted from the higher fertilizer rate and 44 percent from the medium rate, when the fertilizer was hbanded directly to the soil.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2527
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2527
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของการให้ปุ๋ยทางดินและทางใบต่อผลผลิตถั่วเขียว
กรมวิชาการเกษตร
2527
เอกสารแนบ 1
การใช้ปุ๋ยเหล็กทางใบกับการผลิตถั่วเขียวในดินด่าง การใช้ถั่วเขียวเป็นปุ๋ยพืชสดที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวจาปอนิก้า โปรแกรมฐานข้อมูลแนะนำการใช้ปุ๋ย dbFRec for DOS อิทธิพลของปุ๋ย N, P, K และ Mg ต่อผลผลิตยางในดินชุดชุมพร อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่มีต่อผลผลิตของถั่วแกรมสไตโล (1)ในดินชุดบ้านทอน การใช้ปุ๋ยทางใบในการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อผลผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วหนูท้องขาว อิทธิพลของประชากรถั่วเขียวต่อการแข่งขันของวัชพืช อิทธิพลของวิธีการเก็บเกี่ยวและอัตราปุ๋ยที่มีต่อการ เจริญเติบโตและผลผลิตใบหม่อน อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่มีต่อผลผลิตหญ้าซิกแนลนอนในชุดดินปากช่อง

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก