สืบค้นงานวิจัย
ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลาเทพาขนาดเล็ก
สุภาพร มหันต์กิจ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลาเทพาขนาดเล็ก
ชื่อเรื่อง (EN): Optimum Protein and Energy Levels in Diet for Chao Phraya Giant Catfish,Pangasius sanitwongsei Smith, 1931 Fingerlings
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุภาพร มหันต์กิจ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นุชนรี ทองศรี
คำสำคัญ: ปลาเทพา โปรตีน พลังงาน
บทคัดย่อ (EN): การศึกษาระดับโปรตีนและพลงงานท ั ี่เหมาะสมในอาหารสําหรับปลาเทพาขนาดเล็ก วางแผนการทดลองแบบแฟคตอเรียลที่มี 2 ปัจจัย ไดแก้ ่ระดบโปรต ั ีน (30, 35 และ 40 เปอร์เซ็นต) ์และระดับพลงงาน ั (350, 400 และ 450 กิโลแคลอรีต่ออาหาร 100 กรัม) โดยสร้างสูตรอาหารทดลอง 9 สูตร นํามาเล้ียงปลาเทพาน้าหน ํ กเร ั ิ่มตนเฉล ้ ี่ย 0.67+ 0.02 กรัม ความยาวเริ่มตนเฉล ้ ี่ย 4.15+ 0.03 เซนติเมตร ในกระชงขนาด ั1.0 x 1.0 x 1.0 เมตรจํานวน 27 กระชัง ที่อัตราความหนาแน่น 70 ตัวต่อกระชัง ด้วยระบบน้าไหลผ ํ านตลอด ่โดยให้กินอาหารจนอิ่มวนละ ั 2 คร้ัง เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า ไม่มีอิทธิพลร่วมกันระหว่างระดบโปรต ั ีน และระดบพล ั งงานต ั ่อการเจริญเติบโตของปลาเทพาขนาดเล็กเมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าปลาเทพาที่เล้ียงดวยอาหารท ้ ี่มีระดบโปรต ั ีน35 เปอร์เซ็นต์มีการเจริญเติบโตดานน ้ ้าหน ํ ักสุดทายเฉล ้ ี่ย (36.59+3.57, 40.26+3.54 และ 43.08+2.29 กรัมตามลาดํ ับ) เปอร์เซ็นต์นํ้าหนกเพ ั ิ่ม (5,389.21+517.54, 5,945.31+589.07 และ 6,367.97+428.67 เปอร์เซ็นต์ตามลาดํ ับ) อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ ํ (4.76+0.10, 4.87+0.12 และ 4.96+0.08 เปอร์เซ็นต์ต่อวนตามล ั าดํ ับ)และอตราแลกเน ั ้ือ (1.14+0.11, 1.05+0.05 และ 1.02+0.10 ตามลาดํ ับ) มีค่าไม่แตกต่างกบปลาท ั ี่เล้ียงดวย้อาหารที่มีระดบโปรต ั ีน 40 เปอร์เซ็นต (p> 0.05) ์ แต่มีค่ามากกว่าปลาที่เล้ียงดวยอาหารท ้ ี่มีระดบโปรต ั ีน 30เปอร์เซ็นต์อยางม ่ ีนัยสาคํ ญทางสถ ั ิติ (p< 0.05) ส่วนค่าประสิทธิภาพของอาหารพบว่า นํ้าหนกอาหารท ั ี่ปลากิน(40.94+5.68, 41.79+3.38 และ 43.24+2.86 กรัมต่อตวตามล ั าดํ ับ) โปรตีนที่เพิ่มข้ึนในตวปลา ั (30.50+3.30,31.74+1.39 และ 28.99+3.26เปอร์เซ็นตตามล ์ าดํ ับ) พลงงานท ั ี่เพ่มขิ ้ึนในตวปลา ั (32.18+4.63,30.77+1.52และ31.75+3.42เปอร์เซ็นตตามล ์ าดํ ับ) และอตรารอด ั (97.29+1.32, 96.66+2.14 และ 96.18+2.14 เปอร์เซ็นต์ตามลาดํ ับ) ในปลาเทพาที่เล้ียงดวยอาหารท ้ ี่มีระดบโปรต ั ีน 30, 35 และ 40 เปอร์เซ็นต์มีค่าไม่แตกต่างกนั (p> 0.05)สําหรับผลของระดับพลังงานในอาหารที่ 350, 400 และ 450 กิโลแคลอรีต่ออาหาร 100 กรัม ต่อการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพของอาหาร พบว่ามีค่าไม่แตกต่างกนในท ั ุกระดบพล ั งงาน ั (p> 0.05) จากการทดลองสรุปวาอาหารท ่ ี่มีระดบโปรต ั ีน 35 เปอร์เซ็นต์และระดบพล ั งงาน ั 350 กิโลแคลอรีต่ออาหาร 100 กรัมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลาเทพาขนาดเล็ก
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลาเทพาขนาดเล็ก
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2555
เอกสารแนบ 1
ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลาเทพา ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสวายโมงขนาดเล็ก ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลากระดี่นาง ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลากระดี่หม้อ ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาอีกงวัยรุ่น ระดับโปรตีนและพลังงานในอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลาไหลนาขนาดเล็ก ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสวายโมงขนาดกลาง ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสลิด ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมสำหรับไก่ลูกผสมพื้นเมือง-เซี่ยงไฮ้ ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารเป็ดเทศสายพันธุ์กบินทร์บุรี 4) ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมสำหรับ เป็ดเทศสายพันธุ์กบินทร์บุรีช่วงระยะไข่

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก