สืบค้นงานวิจัย
ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่างๆร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุง นาข้าวดินกรด ในกลุ่มชุดดินที่ 22 จังหวัดชัยภูมิ
แก้วใจ อ้อชัยภูมิ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่างๆร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุง นาข้าวดินกรด ในกลุ่มชุดดินที่ 22 จังหวัดชัยภูมิ
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of varied soil amendments and dolomite limestone to improve acid paddy soil group No.22 in Chaiyaphum Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: แก้วใจ อ้อชัยภูมิ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธีรพล เปล่งสันเทียะ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัย ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่างๆร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุงนา ข้าวดินกรด ในกลุ่มชุด ดินที่ 22 จังหวัดชัยภูมิ ดำนินการใบพื้นที่ บ้านกุดไผ่ หมู่ ตำบลตลาดแร้ง อำภอบันเขว้า จังหวัดชัยภูมิ มีวัดถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของการ ใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่งาร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุงดินนาที่เป็นดินกรด ที่มีผลต่อกุณสมบัติ ทางเคมีของดิน ผลผลิตข้ว และ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยวางแผนการทดลองแบบ 2x4 Factorial in Randomized Complete Block Design (RCBD) จำนวน 3 ซ้ำ 8 ตำรับการทคลอง ดังนี้ ตำรับการทดลองที่ 1 = ใส่แกลบ ! ตัน/ไร่ ตำรับการทดลองที่ 2 = ใส่ขี้เถ้ำาแกลบ ! ตัน/ไร่ ตำรับการทดลองที่ 3 - ใส่ปุ๋ยหมักฟางข้าว 1 ตัน/ไร่ ตำรับการทตลองที่ 4 = ใส่ขี้เห็ด 1 ตัน/ไร่ ตำรับการทดลองที่ ร = ใส่ โดโลไมท์ 654 กก/ไร่ ร่วมกับแกลบ 1 ตัน/ไร่ ตำรับการทดลองที่ 6 = ใส่โดโลไมท์ 6ร4 กก/ไร่ ร่วมกับขี้ถ้ำแกลบ ! ดัน/ไร่ ดำรับการทดลองที่ 7 = ใส่โดโลไมท์ 654 กก/ไร่ ร่วมกับปุ๊ยหมัก ฟางข้าว 1 ตัน/ไร่ ตำรับการทดลองที่ 8 = ใส่โดโลไมท์ 654 กก/ไร่ ร่วมกับขี้เห็ด 1 ดัน/ไร่ จากผลการทดลองพบว่า การ ใส่โดโลไมท์ หรือวัสดุปรับปรุงดิน มีผลต่อ ก่า H, ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์, ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยน ได้, เหล็กที่เป็นประโซชน์ และอะลูมินั่มที่แลกเปลี่ยนได้ ในดิน โดยแต่ละดำรับการทดลองมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ แต่ไม่มีผลต่อ ความแตกต่งกันของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ปริมาณ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ในแต่ละ ตำรับการทคลอง แต่การ ใส่โดโลไมท์ ร่วมกับวัสดุปรับปรุงดิน มีผลต่อ ค่า H, ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน, ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์, ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้, เหล็กที่เป็นประ โยชน์ และอะลูมินั่มที่แลกเปลี่ยนได้ ใน ดิน โดขแต่ละดำรับการทดลองมีความแตกด่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ให้ผลต่อปริมาณ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ไม่ แดกต่างกันในแต่ละตำรับการทดลอง ทางด้านผลผลิตของข้าวหอมดง พบว่า การใส่โดโลไมท์ หรือ วัสดุปรับปรุงดิน มี ผลต่อ ความสูงของข้าวหอมดง โดยแต่ละตำรับการทคลองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ไม่มีผลต่อความ แตกต่งกันของ จำนวนต้น/กอ น้ำหนัก 100 เมล็ด จำนวนเมล็ด/รวง เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี เปอร์เซ็นต์เมล็ดถึบ และน้ำหนัก แห้งของตอซัง ในแต่ตำรับการทคลอง แต่การใส่ โคโลไมท์ ร่วมกับวัสดุปรับปรุงดิน มีผลต่อ ปริมาณผลผลิตของข้าว หอมทองในแต่ละตำรับการทคลองอย่างมีนัยสำคัญ และมีผลต่อความสูง จำนวนต้นกอ น้ำหนัก 100 เมล็ด และน้ำหนัก แห้งของตอซังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ให้ผลต่อจำนวนเมล็ด/รวง เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลืบ ไม่แตกต่าง กัน จากการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่า ดำรับทดลองที่ 6 = โคโลไมท์ 654 กก./ไร่ + ขี้เถ้ำแกลบ ! ตัน/ไร่ มีต้นทุนรวม/ไร่ สูงสุด เท่ากับ 5,125 บาท และ ตำรับการทคลอง งที่ 4 = ใส่ขี้เห็ด 1 ตัน/ไร่ มีดันทุนรวม/ไร่ ต่ำสุด เท่ากับ 4.825 บาท ขณะที่เมื่อคำนวณรายได้ต่อไร่ พบว่า ตำรับทดลองที่ 7= โคโลไมท์ 654 กก/ไร่ + ปุ้ยหมักฟางข้าว 1 ตัน/ไร่ มี รายได้ไร่ สูงสุด เท่ากับ 8410 บาท และ ตำรับการทคลองที่ 4 =ใส่ขี้เห็ด ! ตัน/ไร่ มีรายได้/ไร่ ต่ำสุด เท่ากับ 6,032 บาท และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่า ตำรับทดลองที่ ๆ -โตโลไมท์ 654 กก/ไร่ + ปุ้ยหมักฟางข้าว 1 ตัน/ไร่ มีกำไร/ไร่ สูงสุด เท่ากับ 3,453 บาท และ ตำรับการทดลองที่ 4 = ใส่ขี้เห็ด 1 ตัน/ไร่ มีกำไร/ไร่ ต่ำสุด เท่ากับ 1,024 บาท
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-02-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-12-01
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่างๆร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุง นาข้าวดินกรด ในกลุ่มชุดดินที่ 22 จังหวัดชัยภูมิ
กรมพัฒนาที่ดิน
1 ธันวาคม 2556
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ในชุดดินโคราช (กลุ่มชุดดินที่ 35) การจัดการดินกรดด้วยวัสดุปรับปรุงบำรุงดินและพืชปุ๋ยสด เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวพื้นที่นาขั้นบันได ชุดดินหนองมด จังหวัดเชียงราย อัตราปูนโดโลไมท์ที่เหมาะสมในการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัด กลุ่มชุดดินที่ 14 ชุดดินระแงะ เพื่อปลูกข้าวโพดหวาน การศึกษาปรับปรุงดินกรด(กลุ่มชุดดินที่ 22)เพื่อลดการขาดธาตุแคลเซียมที่มีผลต่อโรคผลเน่าแห้งดำ (Blossom end rot) ของมะเขือเทศ ศึกษาการจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปลูกมะละกอ การปรับสภาพทางเคมีและความอุดมสมบูรณ์ของดินเปรี้ยวจัดในชุดดินรังสิต ในพื้นที่ร่องน้ำโดยการใช้วัสดุปรับปรุงดินและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อปลูกข้าวอินทรีย์ (พันธุ์หอมนิล) การใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับวัสดุปรับปรุงดินเพื่อปรับสภาพดินกรดที่ใช้ปลูกหอมแดงในจังหวัดศรีสะเกษ การเพิ่มผลผลิตข้าวนาหว่านน้ำตมภายใต้การจัดการปุ๋ยในชุดดินพัทลุง โครงการสาธิตทดสอบการปรับปรุงดินเพื่อปลูกข้าวพันธุ์เล็บนกปัตตานี ในกลุ่มชุดดินที่ 6 ชุดดินแกลง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก