สืบค้นงานวิจัย
ผลจับปลาทูน่าจากเรืออวนล้อมจับของไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดียระหว่างปี 2548-2550
วิไลลักษณ์ เปรมกิจ, พิทักษ์ ใจดี - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ผลจับปลาทูน่าจากเรืออวนล้อมจับของไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดียระหว่างปี 2548-2550
ชื่อเรื่อง (EN): Catch of Tuna from Thai Purse Seine in the Indian Ocean during 2005-2007
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาทรัพยากรปลาทูน?าจากเรืออวนล?อมจับของไทยโดยการคัดลอกสมุดปูมเรือ และสุ?มวัด ขนาดปลาทูน?าในช?วงเดือนกันยายน ป? 2548-มิถุนายน ป? 2550 พบว?า มีการทําประมงตลอดป?ทั้งบริเวณ มหาสมุทรอินเดียตะวันออก และมหาสมุทรอินเดียตะวันตก การทําประมงหนาแน?นอยู?ในช?วงเดือน กุมภาพันธ?-พฤษภาคม และเดือนกันยายน-ธันวาคมของทุกป?แหล?งทําการประมงมากที่สุด คือ บริเวณ ตะวันออกของประเทศโซมาเลีย ปริมาณการจับปลาทูน?าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันตกและมหาสมุทร อินเดียตะวันออกคิดเป?นร?อยละ 94.92 และ 5.08 ของปริมาณปลาทูน?าทั้งหมด ตามลําดับ โดยมีปริมาณการ จับปลาทูน?ามากที่สุดอยู?เขต 1: บริเวณตะวันออกของประเทศโซมาเลียท?ากับ 30,469.00 ตัน และน?อยที่สุดอยู? เขต 5: บริเวณหมู?เกาะมัลดีฟส?เท?ากับ 936.00 ตัน สําหรับการล?อมฝูงปลาบริเวณแพล?อปลาและวัตถุลอยน้ํา ได?ปลาทูน?าท?องแถบเป?นหลักในขณะที่การล?อมฝูงปลาบริเวณที่มีปลาฝูงอิสระได?ปลาทูน?าครีบเหลืองและ ปลาทูน?าตาโตขนาดใหญ? จากการวางอวนทั้งหมด 1,466 ครั้ง มีอัตราการจับเฉลี่ยปลาทูน?าเท?ากับ 27.13 ตัน/ครั้ง โดย อัตราการจับเฉลี่ยปลาทูน?าท?องแถบมากกว?าปลาทูน?าครีบเหลือง และปลาทูน?าตาโต จากการวิเคราะห? ทางสถิติพบว?าอัตราการจับเฉลี่ยปลาทูน?าในแต?ละไตรมาสไม?มีความแตกต?างกันทางสถิติ (P>0.05) แต?อัตรา การจับเฉลี่ยปลาทูน?าในแต?ละเขตพื้นที่ทําการประมงมีความแตกต?างกันอย?างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ทรัพยากรสัตว?น้ําที่จับได?ทั้งหมด 40,021.00 ตัน เป?นปลาทูน?าทั้งหมด 39,771.00 ตัน และที่ เหลือเป?นปลาโอ 250.00 ตัน องค?ประกอบของปลาทูน?าประกอบด?วยปลาทูน?าท?องแถบ (Katsuwonus pelamis) ปลาทูน?าครีบเหลือง (Thunnus albacares) และปลาทูน?าตาโต (Thunnus obesus) คิดเป?นร?อยละ 70.40 13.27 และ 15.70 ของปริมาณการจับทั้งหมดโดยมีความยาวส?อมหางเฉลี่ย 60.51+7.90 80.05+23.39 และ 70.30+7.80 เซนติเมตร ตามลําดับ สําหรับปลาทูน?าที่เข?ามาในข?ายการประมงพบว?า ปลาทูน?าท?องแถบ 2 เป?นปลาที่มีขนาดใหญ?กว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ? ในขณะที่ปลาทูน?าครีบเหลืองและปลาทูน?าตาโตเป?นปลา ที่มีขนาดเล็กกว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ? ส?วนความสัมพันธ?ระหว?างความยาวส?อมหางกับน้ําหนักปลาทูน?า ท?องแถบ ปลาทูน?าครีบเหลืองและปลาทูน?าตาโตอยู?ในรูปสมการดังต?อไปนี้ W = 0.0000213FL2.9886 W = 0.0000316FL2.8694 และ W = 0.0000402FL2.8297 ตามลําดับ
บทคัดย่อ (EN): The study on tuna resource from Thai purse seine was carried out during September 2005 to June 2007. The study was conducted through data collected from the vessels’ log book together with length-weight measurement of sampling frozen tuna on board. Tuna fishery in the Indian Ocean can be operated throughout the year in both the eastern and western part with the peak from February-May and September-December. The most common fishing ground with abundant stock located along the east coast of Somalia. Total catch from west and east Indian Ocean were 94.92 and 5.08 respectively. The highest catch of 30,469.00 tons were recorded off the east coast of Somalia while the lowest catch of 639.00 tons off Maldives. The fishing operation was purse seine with FADS (Fish Aggregated Devices) and free drifting materials, that caught skipjack mainly, while free school fishing operation caught the big size of yellowfin tuna and bigeye tuna. The average catch rate of tunas 27.13 tons/set were obtained from 1,466 sets of operations. It was found that skipjack tuna was the highest proportion, followed by yellowfin tuna and bigeye tuna. The statistical analysis of average catch rate of tunas each quarter showed no significant differences. Whereas average catch rate of tunas among every fishing zone showed significant differences (P<0.05). The total catch 40,021.00 tons were consisted of tunas 39,771.00 tons and bonito 250.00 tons. The catch of tunas comprised skipjack tuna (Katsuwonus pelamis), yellowfin tuna (Thunnus albacares) and bigeye tuna (Thunnus obesus) at the percentage 70.40, 13.27 and 15.70 respectively. Size length of skipjack tuna, yellowfin tuna and bigeye tuna were 60.51+7.90 80.05+23.39 and 70.30+7.80 cm, 4 repectively. The average size of skipjack were bigger than size at first maturity whereas yellowfin and bigeye were less than such stage. In addition, relationship between fork length and body weight of skipjack tuna, yellowfin tuna and bigeye tuna were shown by these equation : W = 0.0000213FL2.9886 , W = 0.0000316FL2.8694 and W = 0.0000402FL2.8297 respectively.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลจับปลาทูน่าจากเรืออวนล้อมจับของไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดียระหว่างปี 2548-2550
กรมประมง
31 มีนาคม 2552
กรมประมง
ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบที่จับได้ด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก ปริมาณโลหะหนักบางชนิดในปลาเศรษฐกิจที่จับด้วยอวนล้อมปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก ผลจับปลาทูน่าของเรือประมงอวนล้อมจับของไทยในมหาสมุทรอินเดีย องค์ประกอบของอาหารในกระเพาะปลาทูน่าที่จับได้ด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับในบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก ปริมาณโลหะหนักบางชนิดในปลาทูน่าท้องแถบที่จับด้วยอวนล้อมปลาทูน่าบริเวณ มหาสมุทรอินเดียตะวันออก สภาวะการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมืออวนล้อมจับในมหาสมุทรอินเดีย ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบ (Katsuwonus pelamis) และปลาทูน่าครีบเหลือง (Thunnus albacares) ที่จับได้จากเครื่องมืออวนล้อมจับของเรือสำรวจประมงมหิดล บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก การประมงอวนล้อมจับจากเรือที่ขึ้นท่าในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556 องค์ประกอบชนิดและอัตราการติดเบ็ดของสัตว์น้ำจากเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่าบริเวณ Ninety East Ridge ในมหาสมุทรอินเดีย ศึกษาสภาวะการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรสัตว์น้ำพลอยจับได้จากเครื่องมืออวนล้อมในมหาสมุทรอินเดีย.

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก