สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาการเพาะเลี้ยงแบบเฮเทโรโทรฟิคและมิกโซโทรฟิคเพื่อเพิ่มผลผลิตมวลเซลล์และน้ำมันสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อผลิตไบโอดีเซล
รัตนภรณ์ ลีสิงห์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาการเพาะเลี้ยงแบบเฮเทโรโทรฟิคและมิกโซโทรฟิคเพื่อเพิ่มผลผลิตมวลเซลล์และน้ำมันสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อผลิตไบโอดีเซล
ชื่อเรื่อง (EN): Development of heterotrophic and mixotrophic cultivation for enhancement of microalgal biomass and oil yield and its application for biodiesel preparation
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รัตนภรณ์ ลีสิงห์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ratanaporn Leesing
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จินตนา ศรีผุย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Jintana Sripui
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Chlorella sp. KKU-$2 พบว่าการเพาะเลี้ยงภายใต้สภาวะ Fed-batch mixotrophic cultivation ที่มีการให้แสง 24 ชั่วโมง (FBM, 24h) เชลล์เจริญและให้อัตรา การผลิตลิปิดสูงกว่าการเพาะเลี้ยงแบบทั้งแบบ Fed-batch mixotrophic cultivation ที่ให้แสง 16 ชั่วโมง/ไม่มีแสง 8 ชั่วโมง (FBM, 16:8h) และแบu Fed-batch heterotrophic cultivation (FBH) โดยการเพาะเลี้ยงแบบ FBM, 24hที่เติมแหล่งคาร์บอนกากน้ำตาลพร้อมกับ NaNO, เป็นแหล่ง ไนโตรเจน ให้ปริมาณซลล์ 14.769/L และอัตราการผลิตเซลล์ 1.489/L/d ปริมาณลิปิด 3.65g/L และ อัตราการผลิตลิปิด 0.379//d ส่วนการเพาะเลี้ยงแบบ FBM, 16:8h ให้ปริมาณเซลล์ 8.94g/L และ อัตราการผลิตเซลล์ 1.12://d ปริมาณลิปิด 1.169/L และอัตราการผลิตลิปิด 0.21g/L/d และการ เพาะเลี้ยงแบบ FBH ได้ปริมาณเซลล์ 9.44g/ และอัตราการผลิตเซลล์ 1.18g//d ปริมาณลิปิด 1.23g/L และอัตราการผลิตลิปิด 0.15g/L/d คำสำคัญ : กากน้ำตาล การเพาะเลี้ยงแบบกะป้อน การเพาะเลี้ยงแบบเฮเทโรโทรฟิค การเพาะเลี้ยงแบบเฮเทโรโทรฟิค Chlorella sp. KKU S2
บทคัดย่อ (EN): Study of growth and lipid production by Chlorella sp. KKU-S2 under fed-batch cultivation by using molasses as carbon substrate was investigated. A maximum biomass of 14.76g/L with biomass production rate of 1.48g/L/d and lipid yield of 3.65g/L with lipid production rate of 0.37g/L/d were obtained under fed-batch mixotrophic cultivation fed with both of molasses and NaNO; in same time and under continuous illumination for 24h. Under fed-batch mixotrophic cultivation with light and dark interval of 16h light and 8 h dark, a biomass of 8.94g/L with biomass production rate of 1.12g/L/d and lipid yield of 1.16g/L with lipid production rate of 0.21g/L/d was found. Whereas, a biomass of 9.44g/L with biomass production rate of 1.18g/L/d and lipid yield of 1.23g/L with lipid production rate of 0.15g/L/d was obtained under fed- batch heterotrophic cultivation. Keywords : molasses, Fed-batch cultivation, mixotrophic cultivation, heterotrophic cultivation, Chlorella sp. KKU-S2
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 237,500.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
เอกสารแนบ: https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/276273
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2555
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาการเพาะเลี้ยงแบบเฮเทโรโทรฟิคและมิกโซโทรฟิคเพื่อเพิ่มผลผลิตมวลเซลล์และน้ำมันสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อผลิตไบโอดีเซล
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2556
เอกสารแนบ 1
การคัดเลือกสายพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็กที่มีปริมาณน้ำมันสูงเพื่อการผลิตไบโอดีเซล ศึกษาการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากสาหร่ายท้องถิ่นในแหล่งน้ำ จังหวัดสกลนคร การเติบโตแบบออโตโทรฟิค มิกโซโทรฟิค และเฮเทอโรโทรฟิคของไดอะตอมท้องน้ำ Nitzschia sp. BUUC1501 การผลิตชีวมวลและการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปาล์มน้ำมันด้วยสาหร่ายขนาดเล็ก กรดไขมันที่เป็นองค์ประกอบและสมบัติของน้ำมันศรีทองและเมทิลเอสเทอร์ การผลิตน้ำมันจุลินทรีย์ด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อผสมของสาหร่ายขนาดเล็กและยีสต์ไขมันสูงเพื่อผลิตไบโอดีเซลด้วยวิธีทรานส์เอสเทอริฟิเคชั่นแบบตรง การคัดกรองเอนไซม์ไลเปสเพื่อผลิตไบโอดีเซลจากจุลินทรีย์ในน้ำพุร้อนบางแหล่งในภาคเหนือของประเทศไทย การพัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงไรน้ำนางฟ้าพันธุ์ไทยเชิงพาณิชย์ ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตปาล์มน้ำมันในจังหวัดนครศรีธรรมราช การผลิต 1, 3-propanediol โดยกระบวนการตรึงเซลล์จากกลีเซอรอล ที่เป็นผลพลอยได้ของการผลิตไบโอดีเซล

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก