สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดอัตราการขัดสีข้าว
ใจทิพย์ วานิชชัง, ผดุงศักดิ์ วานิชชัง, เพียงขวัญ เครือภู่, ใจทิพย์ วานิชชัง, ผดุงศักดิ์ วานิชชัง, เพียงขวัญ เครือภู่ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดอัตราการขัดสีข้าว
ชื่อเรื่อง (EN): The Research and Development of Rice Milling Degree Measuring Device
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: บทคัดย?อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค?เพอหาพ ื่ ัฒนาอปกรณ ุ ?ตรวจวดอั ัตราการขัดสีข?าว ทดสอบ ความแมนย? าของอ ํ ุปกรณ?ที่พัฒนาเปรียบเทียบกับเคร ื่ องวัดมาตรฐานและถ?ายทอดเทคโนโลยี จากการวิจัยสู?ผู?ประกอบการ ทําการวิจัยที่ห?องปฏิบัติการเทคโนโลยีหลังการเก็บเกยว ี่ สาขา วิศวกรรมและเทคโนโลยีคณะเกษตรศาสตร?และทรัพยากรธรรมชาติมหาวทยาล ิ ัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวนออก ั จังหวัดชลบุรีอุปกรณ?ตรวจวัดระดับการขัดสีเปนอ? ุปกรณ?สุ?มตวอย ั ?างเมล็ด ข?าว 100 เมล็ด ลักษณะเปนถาดส ? ี่ เหล ี่ ยมมีด?ามสาหร ํ บจั ับเพ ื่อสะดวกในการใช?งาน ตัวถาด กว?าง 9 เซนติเมตรยาว 14 เซนติเมตร มีช?องสําหรับเมล็ด จํานวน 100 ช?อง โดยอุปกรณ?นี้ สามารถสมตุ? ัวอย?างได?ถูกต?อง สะดวกรวดเร็วและเทออกได?ง?ายเม ื่ อชงน ั่ าหน ้ํ ักข?าวกล?องและ ข?าวขาว 100 เมล็ดที่สุ?มตัวอย?าง สามารถนํามาคํานวณเป?นระดับการขัดสี (Degree of Milling: %DOM) โดยค?า DOM >8% จะถือวาเป? นการข ? ัดสีในระดับดี (Well milled) ขัดสีปานกลาง (Reasonably well milled: DOM=7.7)ขัดสีน?อย (Lightly milled; DOM=6.9) หรอขื ัดสีต่ํา (Under milled; DOM=3-6)ตามมาตรฐานข?าวไทยได?และสามารถนาคํ ?า DOM มาทํานายค?าสี ของข?าวเทียบกับค?าท ี่ได?จากเคร ื่ องวัด Satake milling meter ได?ค?า R2 >0.90 เม ื่ อทํานายค?า ความขาวและระดับการขัดสี ส?วนการใช?ค?า DOM ทํานายคุณภาพการสีของข?าว โดยเฉพาะ เปอร?เซ็นต?ข?าวขาวและรํา ได?ค?า R2 >0.90 เช?นเดยวก ี ัน จากการถายทอดเทคโนโลย ? ีจากการวิจัยสู?ผู?ประกอบการโรงสีทั้งโรสีข?าวขนาดใหญ? และโรงสีขนาดเล็ก พบว?าอุปกรณ?นี้สามารถใช?ประมาณอัตราการขัดสีค?าสีและคุณภาพการสี ของข?าวได?ในระหว?างขั้นตอนการสีข?าวได?ไม?ต?องรอจนกว?าจะสีข?าวเสร็จซึ่งจะช?วยใหลดการ ? สูญเสียในระหว?างการขัดขาว ลดการขัดขาวท ี่ เกนจิ ําเป?น ลดการใช?พลังงานในการขัดสีและลด การสูญเสียคณค ุ ?าทางโภชนาการของข?าว
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this study were to develop the rice milling degree measuring device and investigate the accuracy test of the device compare to the standard device. After that the technology was transfer to the rice milling industries and communities. The study was conducted at Postharvest Lab, Agricultural Engineering and Technology Dept. Faculty of Agriculture and National Resources, Rajamangala University of Technology Tawon-ok, Chonburi. The rice milling degree measuring device can be used to sampling 100 grain of brown rice and milled rice. The dimension of the device was 9 cm wide and 14 cm in length and consisted of the 100 indents holes. This device was easy and convenient to sampling and removal. Weight of brown rice and milled rice were calculated as degree of milling (DOM). DOM>8% displayed of well milled, DOM=7.7 display of reasonably well milled, DOM=6.9 displayed lightly milled and DOM=3-6 displayed under milled as related to Thailand Rice Standard. Moreover the DOM could be used to predict color of milled rice according to Satake Milling Meter in term of whiteness and milling degree at R2 >0.90. However the DOM not only used to predict color of milled rice but also used to predict rice milling quality in term of milled rice and bran at R2 >0.90. This technology was transferred to the rice mill industries and reveal that this rice milling degree measuring device not only used to investigate the DOM but also used to predict the color of milled rice and rice milling quality. This device could be used during the rice milling process and provided the economical milling condition which reduce the milling losses, energy saving and nutrient losses according to over milling.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดอัตราการขัดสีข้าว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
30 กันยายน 2556
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร โครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ต้นแบบเครื่องตรวจวัดประเมินคลอโรฟิลล์และไนโตรเจนในใบข้าวเพื่อการจัดการปุ๋ยไนโตรเจนและลดต้นทุนการผลิตข้าว โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวสาลี โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวบาร์เลย์ โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวไร่ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ข้าว โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวหอม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อสุขภาพจากข้าวมีสีและวัสดุเศษเหลือ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกข้าวในนิเวศต่าง ๆ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก