สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาชนิดอาหารเพื่อทดแทนโรติเฟอร์ในการอนุบาลลูกปลาการ์ตูนที่เลี้ยงในเชิงพาณิชย์
สหภพ ดอกเเก้ว, พรรษา ถมยา - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาชนิดอาหารเพื่อทดแทนโรติเฟอร์ในการอนุบาลลูกปลาการ์ตูนที่เลี้ยงในเชิงพาณิชย์
ชื่อเรื่อง (EN): Using of Alternative Diets for Rotifer Substitution in Nursing of Clownfish Larvae in Commercial Scale Culture
บทคัดย่อ: การศึกษาอาหารทางเลือกใหม่สำหรับการอนุบาลปลาการ์ตูนวัยอ่อน 3 ชนิด ตั้งแต่ฟักจากไข่จนถึง 6 สัปดาห์ ด้วยการทดลองแบบสุ่มตลอด และวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยอัตรารอด ที่ความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ พบว่า สิ้นสุดการทดลอง (6 สัปดาห์) อัตรารอดของปลาการ์ตูนส้มขาว ปลาการ์ตูนลายปล้อง ปลาการ์ตูนแดง ในชุดการทดลองใช้โรติเฟอร์เท่ากับ 60.67+1.15, 62.00+2.00 และ 73.33+11.55 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ และในชุดการทดลองที่ใช้อาร์ทีเมียมีอัตรารอดเท่ากับ 50.67+2.31, 65.33+14.05 และ 52.67+3.06 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ในขณะที่ชุดการทดลองที่ใช้อาหารสำเร็จรูปไม่พบอัตรารอดของปลาการ์ตูนทั้ง 3 ชนิดเลย จากการทดลองสรุปได้ว่า อาร์ทีเมียแรกฟักสามารถเป็นอาหารสำหรับการอนุบาลปลาการ์ตูนแรกฟักได้แม้ว่าส่วนมากอัตรารอดที่ได้จะต่ำกว่าการใช้โรติเฟอร์ แต่อย่างไรก็ตามอาร์ทีเมียเป็นอาหารที่เตรียมง่ายกว่าการใช้โรติเฟอร์การศึกษาอาหารทางเลือกใหม่สำหรับการอนุบาลปลาการ์ตูนวัยอ่อน 3 ชนิด ตั้งแต่ฟักจากไข่จนถึง 6 สัปดาห์ ด้วยการทดลองแบบสุ่มตลอด และวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยอัตรารอด ที่ความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ พบว่า สิ้นสุดการทดลอง (6 สัปดาห์) อัตรารอดของปลาการ์ตูนส้มขาว ปลาการ์ตูนลายปล้อง ปลาการ์ตูนแดง ในชุดการทดลองใช้โรติเฟอร์เท่ากับ 60.67+1.15, 62.00+2.00 และ 73.33+11.55 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ และในชุดการทดลองที่ใช้อาร์ทีเมียมีอัตรารอดเท่ากับ 50.67+2.31, 65.33+14.05 และ 52.67+3.06 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ในขณะที่ชุดการทดลองที่ใช้อาหารสำเร็จรูปไม่พบอัตรารอดของปลาการ์ตูนทั้ง 3 ชนิดเลย จากการทดลองสรุปได้ว่า อาร์ทีเมียแรกฟักสามารถเป็นอาหารสำหรับการอนุบาลปลาการ์ตูนแรกฟักได้แม้ว่าส่วนมากอัตรารอดที่ได้จะต่ำกว่าการใช้โรติเฟอร์ แต่อย่างไรก็ตามอาร์ทีเมียเป็นอาหารที่เตรียมง่ายกว่าการใช้โรติเฟอร์
บทคัดย่อ (EN): Study on alternative food on the survival rates for larviculture Anemonefish (3 species) were experimented in hatching state to juvenile stage (6 weeks).Completely Randomize Design was used for the experimentation. Analysis of variance was employed in data analysis and means of the survival rates form each experiment were compared by using Tukey’s Test at 95 % level of confidence. The average survival rate in 6 weeks of Clown anemonefish, Clark’s anemonefish and Maroon anemonefish in treatment I (rotifer) were 60.67+1.15, 62.00+2.00 and 73.33+11.55 % respectively and treatment II (artemia nauplii) were 50.67+2.31, 65.33+14.05 and 52.67+3.06 % respectively while survival rate of treatment III (pure artificial food) was 0 % .So, artemia nauplii can be alternative food for larviculture of anemonefish and it is also easy to prepare. Study on alternative food on the survival rates for larviculture Anemonefish (3 species) were experimented in hatching state to juvenile stage (6 weeks).Completely Randomize Design was used for the experimentation. Analysis of variance was employed in data analysis and means of the survival rates form each experiment were compared by using Tukey’s Test at 95 % level of confidence. The average survival rate in 6 weeks of Clown anemonefish, Clark’s anemonefish and Maroon anemonefish in treatment I (rotifer) were 60.67+1.15, 62.00+2.00 and 73.33+11.55 % respectively and treatment II (artemia nauplii) were 50.67+2.31, 65.33+14.05 and 52.67+3.06 % respectively while survival rate of treatment III (pure artificial food) was 0 % .So, artemia nauplii can be alternative food for larviculture of anemonefish and it is also easy to prepare.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ: ปลาการ์ตูน
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาชนิดอาหารเพื่อทดแทนโรติเฟอร์ในการอนุบาลลูกปลาการ์ตูนที่เลี้ยงในเชิงพาณิชย์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2551
การเลี้ยงปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion ocellaris Curvier, 1830) วัยรุ่นให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ด้วยอาหารต่างชนิด การผลิตรีคอมบิแนนท์โกรทฮอร์โมน และการติดตามผลการเร่งอัตราการเจริญเติบโต และพัฒนาการสืบพันธุ์ของปลาในกลุ่มปลาการ์ตูนเพื่อการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์ การผลิตรีคอมบิแนนท์โกรทฮอร์โมน และการติดตามผลการเร่งอัตราการเจริญเติบโต และพัฒนาการสืบพันธุ์ของปลาในกลุ่มปลาการ์ตูนเพื่อการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์ เมแทบอลิซึมของแคโรทีนอยด์ในปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion ocellaris Cuvier, 1830) ปลาการ์ตูนทอง Premnas biaculeatus (Bloch, 1790) ปลาการ์ตูนลายปล้อง Amphiprion clarkii (Bennett, 1830) ปลาการ์ตูนแดง Prem ผลของการผสมข้ามชนิดระหว่างปลาการ์ตูนเพอร์คูลา (Amphiprion percula (Lacepède, 1802)) กับปลาการ์ตูนดำ (A. ocellaris Cuvier, 1830) ต่อลักษณะปรากฏของสีในปลาลูกผสม ระดับความเข้มข้นของรงควัตถุบางชนิดในอาหารต่อการ เพิ่มสีในปลาการ์ตูนลายปล้อง ( Amphiprion clarkii Bennett, 1830) ระดับความเข้มข้นของรงควัตถุในอาหารต่อการเพิ่มสีในปลาการ์ตูนแก้มหนาม (Premnas biaculeatus Bloch, 1790) การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลาการ์ตูนส้มขาวด้วยอาหารเซลล์ตรึงปรสิต (Cryptocaryon irritans) และยีสต์ (Pichia jadinii) การเลี้ยงไรน้ำนางฟ้าไทย (Branchinella thailandensis) ด้วย อาหารต่างชนิดกัน เพื่อเป็นอาหารเร่งสีปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion ocellaris Curvier, 1893) ระดับความเข้มข้นของคาร์โรทีนอยด์ จาก แพลงก์ตอนสัตว์ที่รวบรวมได้ในบ่อเลี้ยงกุ้งต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย การเพิ่มสีและเมตาโบลิซึมในปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion ocellaris Cuvier, 1830
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก