สืบค้นงานวิจัย
ศักยภาพการจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวในจังหวัดสกลนคร
พัดชา เศรษฐากา - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ศักยภาพการจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวในจังหวัดสกลนคร
ชื่อเรื่อง (EN): Potential of community enterprises’ management on glutinous rice products in Sakon Nakhon province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พัดชา เศรษฐากา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Patcha Sattaka
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วรรณวิสา ศรีตาชัย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Wanwisa Sritachai
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพระบบการจัดการการผลิตของวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียว โดยการ เปรียบเทียบวิสาหกิจชุมชนจำนวน 3 กลุ่ม โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ทดสอบสมมติฐานโดย One-way ANOVA และทดสอบ ความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD โดยพบว่าทั้ง 3 กลุ่ม มีความคล้ายคลึงกันในข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่การเกษตรน้อยกว่า 10ไร่ นิยมปลูกข้าวเหนียว กข6 ไว้บริโภคภายในครัวเรือนและนำมาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปข้าวเหนียวส่วนใหญ่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ผลการเปรียบเทียบศักยภาพ ระบบการจัดการการผลิตของของกลุ่ม พบว่าวิสาหกิจชุมชน ทั้ง 3 กลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทาง สถิติ (P <0.05) ในด้านโครงสร้างองค์กร้ ขั้นตอนการทำงาน บุคลากร การจัดการความรู้ ช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ความเสี่ยงและผลตอบแทน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการปรับปรุงการดำเนินธุรกิจ
บทคัดย่อ (EN): The purpose of the study were to study potential of community enterprises’ management on glutinous rice products, to compare 3 community enterprises by using an interviewing schedule. For hypothesis testing One-way ANOVA and LSD were used. The results showed that three community enterprises had similarity of basic socio-economic information. Most of the farmers have agricultural area less than 10 rai where were planted glutinous rice variety (RD6) for household consumption and processing. The glutinous rice processing was passed on knowledge from their ancestors. The comparison of potential on production management found that 3 community enterprises were significant different (P<0.05) which were organization structure, working process, members, knowledge management, product distribution, risk and profit, information technology, and business improvement.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P63 Ext05.pdf&id=3105&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศักยภาพการจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวในจังหวัดสกลนคร
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2561
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
แนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารในจังหวัดเชียงใหม่สู่การค้าระดับประเทศ(กรณีศึกษา:ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีระดับต่ำกว่า 3 ดาว) รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม การพัฒนารูปแบบการจัดการการตลาดของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน การพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ และบรรจุภัณฑ์ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพและความงามจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมือง รูปแบบการจัดการความรู้สู่องค์กรอัจฉริยะสำหรับวิสาหกิจชุมชนเกษตรรุ่นใหม่ การพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนยั่งยืน การพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของธุรกิจขนาดย่อม : กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์หม้อห้อม บ้านทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่ ศักยภาพการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจกับความได้เปรียบทางการแข่งขันของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดชุมพร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก