สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาคลังข้อมูลชีวภาพอิเล็คทรอนิคส์เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง และการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตและใช้ประโยชน์กลับสู่ชุมชน
กรรณิกา ศรีลัย - สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาคลังข้อมูลชีวภาพอิเล็คทรอนิคส์เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง และการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตและใช้ประโยชน์กลับสู่ชุมชน
ชื่อเรื่อง (EN): Development of biological data-base on highland and transfer knowledge to the community
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กรรณิกา ศรีลัย
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ทำการสังเคราะห์ ข้อมูลพืชที่ ได้จากการรวบร วมและสำรวจองค์ความรู้เกี่ยวกับพืชท้องถิ่นบน พื้นที่สูงในปี ร0 - ร1 ในพื้นที่รวม 16 หมู่บ้านของจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และ น่าน ครอบคลุมชาวเขา 11 ชนเผ่า ได้แก๋ ะ มั่ง ไทลื้อ ปะหล่อง คนเมือง กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน กะเหรี่ยงเชียงใหม่ ไทใหญ่ เมี่ยน ขมุ และกะเหรี่ยงแดง โดยนำข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง จัดลำดับและเรียบเรียงเพื่อจัดเก็บอย่าง เป็นระบบในคลังข้อมูลชีวภาพอิเล็คทรอนิคส์ ให้สามารถผยแพร่ องค์ความรู้ในวงกว้างต่อไป พบว่าพืชที่ สำรวจได้ มีจำนวนทั้งหมด 1,044 ชนิด พร้อมค้วยรูปภาพตัวอย่างพืชทั้งสิ้น 5,375 ภาพ และนำมาจัดแบ่ง ประเภทตามกลุ่มการใช้ประโยชน์ 9 กลุ่ม ทั้งนี้ได้นำข้อมูลที่จัดเก็บในตาราง Excel เข้าสู่โปรแกรม Access เพื่อนำเข้าในฐานข้อมูล (Database) ต่อไป นอกจากนี้ยังได้นำร่องเพื่อพัฒนาข้อมูลไปสู่ E-herbarium ที่ สามารถหมุนภาพได้ 360 องศาและสามารถจะข่อขยายเพื่อดูส่วนประกอบต่างๆ ของพืชได้อีกด้วย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาคลังข้อมูลชีวภาพอิเล็คทรอนิคส์เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง และการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตและใช้ประโยชน์กลับสู่ชุมชน
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
30 กันยายน 2552
การถ่ายทอดองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สู่ชุมชน การถ่ายทอดองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในพื้นที่เขาซับแกงไก่สู่ชุมชน ตัวอย่างกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เหมาะสมกับประเภทขององค์ความรู้ การผลิตอาหารสัตว์จากขยะอินทรีย์ของชุมชน โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงไก่ฟ้าและไก่เบรสบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 2 โครงการวิจัยและพัฒนาไก่เบรสเพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชนบนพื้นที่สูง ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงไก่ฟ้าและไก่เบรสบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 1 โครงการวิจัยและพัฒนาไก่ฟ้าเพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชนบนพื้นที่สูง ความหลากหลายทางชีวภาพกับการพัฒนาเกษตรที่ยั่งยืน การวิจัยการเพิ่มผลผลิตไก่พื้นเมืองบนพื้นที่สูง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก