สืบค้นงานวิจัย
การควบคุมเชื้อรา Pyricularia grisea สาเหตุโรคใบไหม้ข้าว
สุขุมาภรณ์ ศรีเผด็จ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การควบคุมเชื้อรา Pyricularia grisea สาเหตุโรคใบไหม้ข้าว
ชื่อเรื่อง (EN): Control of Pyricularia grisea causing of rice blast disease
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุขุมาภรณ์ ศรีเผด็จ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Sukumaporn Sriphadet
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบวิธีการควบคุมเชื้อ Pyricularia grisea ของโรคไหม้ในข้าวในระดับห้องปฏิบัติการ วางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้ำ ณ ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิธีการควบคุมประกอบด้วย สองกลุ่ม คือ การควบคุมทางเคมี ได้แก่ น้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมและข่า สารเคมีป้องกันเชื้อราโรคพืช Cabendazim และการควบคุมทางชีวภาพ ได้แก่ Bacillus subtilis และ Trichoderma spp. งานวิจัยนี้ทำการเปรียบเทียบการควบคุม เชื้อราระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่มทดลองด้วย Poison Food Technique Method ในห้องควบคุมอุณหภูมิ 30± 2 องศาเซลเซียส ความความชื้นสัมพัทธ์ 95 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 7 วัน บันทึกบริเวณยับยั้ง (เซนติเมตร) เพื่อคำนวณเปอร์เซ็นต์ การยับยั้งการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา Pyricularia grisea พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง สิ่งทดลอง โดยเชื้อ Bacillus subtilis สามารถควบคุมได้ดีที่สุด และไม่พบความแตกต่างระหว่างการใช้ Cabendazim และ เชื้อ Bacillus subtilis ในการควบคุมโรคใบไหม้ของข้าว
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to compare the control methods for blast rice against the cause of Pyricularia grisea. The experimental design was CRD with four replications in laboratory of microbiology at Kasetsart University. The treatment consist of two groups, first group was chemicals control e.g. lemongrass oil, galangal oil and cabendazim (fungicide) and second group was biological control e.g. Bacillus subtilis and Trichoderma spp. The current work was designed to compare between group and within both groups to control the fungus using the Poison Food Technique method and incubated at 30+2 OC, Relative humidity 95 percentage in a temperature controlled room. After seven days, observation of inhibition zone (cm.) for percentage of inhibition among control methods. This research showed significant difference among the treatment. Bacillus subtilis was best in biological control. The comparison between groups was indicated that Cabendazim was not different from Bacillus subtilis to control blast rice.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P098 Pat152.pdf&id=2478&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การควบคุมเชื้อรา Pyricularia grisea สาเหตุโรคใบไหม้ข้าว
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2559
เอกสารแนบ 1
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การควบคุมทางชีวภาพจากแอคติโนมัยซีสที่แยกได้จากบริเวณรากพืช ในการยับยั้งเชื้อราก่อโรคใบไหม้ ในข้าวสายพันธุ์เศรษฐกิจของไทย ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี การประเมินความต้านทานของโรคใบไหม้ของข้าวเหนียวดำในระยะแตกกอหลังการปลูกเชื้อ 7 และ 14 วัน การค้นหายีน Pi2 ต้านทานโรคใบไหม้ในข้าวป่าสายพันธุ์ต่างๆ ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคไหม้กับการพัฒนาข้าวต้านทานโรคไหม้ โครงการการสืบหาและการประเมินประสิทธิภาพของการใช้ดีเอ็นเอเครื่องหมายในการคัดเลือกลักษณะความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ (NCLB) และโรคใบด่างอ้อยในข้าวโพด การสืบหาและการประเมินประสิทธิภาพของการใช้ดีเอ็นเอเครื่องหมายในการคัดเลือกลักษณะความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ (NCLB)และโรคใบด่างอ้อย (SCMV) ในข้าวโพด (ปีที่ 3) การใช้จุลินทรีย์ที่อาศัยร่วมกับต้นข้าวเพื่อควบคุมโรคไหม้ของข้าวที่เกิดจากเชื้อรา การคัดเลือกสายพันธุ์แท้ข้าวโพดหวานเพื่อสร้างประชากรต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก