สืบค้นงานวิจัย
สถานภาพและปัญหาในระบบการผลิต การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาดของผักเศรษฐกิจในเขตจังหวัดนครราชสีมา
อารักษ์ ธีรอำพน - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: สถานภาพและปัญหาในระบบการผลิต การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาดของผักเศรษฐกิจในเขตจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อเรื่อง (EN): The status and problem of production, Postharvest Handling and Marketing of Economic Vegetables in Nakhon Ratchasima Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อารักษ์ ธีรอำพน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธีรยุทธ เกิดไทย
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: โครงการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาช้อมูลพื้นฐานที่สำคัญเกี่ยวกับสถานภาพและปัญหาใน ระบบการผลิต การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาดของผักเสรษฐกิจ เพื่อจำแนกปัญหาได้ ชัดเจน และทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถแก้ไขปัญหาที่พบได้ด้วยเทค โบโลยีที่เหมาะสมและเป็น เทคโนโลยีที่เกยตรกรในพื้นที่ยอมรับ เริ่มจากการกำหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลจำนวน 6 อำเภอของจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ อำเกอเมือง ปีกธงชัย วังน้ำเขียว สีคิ้ว ปากช่อง และเสิงสาง ดำเนินการวิจัยแบบสำรวจกลุ่มตัวอย่าง (cross-sectional sampling survey research)เก็บรวบรวม ข้อมูลไดยการสัมภาษณ์กษตรกร จำนวน 198 ราย ผลการศึกยา พบว่า รูปแบบการปลูกผักเพื่อการค้า มี 3 รูปแบบ ได้แก่ การปลูกผักแบบวิธีปกติทั่วไป การปลูกผักแบบไม่ใช้ดิน และการปลูกผักแบบ อินทรีย์ ทั้งนี้การปลูกผักแบบไม่ใช้ดินพบมากทั้งในเขตอำเภอวังน้ำเขียวและอำเภอปากช่อง ขณะที่ การปลูกผักอินทรีย์เป็นการด้พบมากเฉพาะในอำเภอวังน้ำเขียวเท่านั้น โดยทั้งสองรูปแบบเน้นการ ปลูผักกาดหอมเป็นการค้า สำหรับการสำรวจช้อมูลตามแบบสอบถาม เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่สะดวก ให้ข้อมูลส่วนตัว ใครงการฯ จึงใช้วิธีหมุดพิกัดแปลงที่สัมภายณ์แทน เกษตรกรส่วนใหญ่อายุมากกว่า ร0 ปี ประสบการณ์ปลูกผักเพื่อการค้ามากกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่เรียนรู้จากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ไม่ มีทายาทสนใจสืบทอดอาชีพ ในพื้นที่ปลูกผักเพื่อการค้ในเขตอำเภอเมือง อำเภอปีกธงชัย อำเภอสีคิ้ว และอำเภอเสิงสาง มีขนาดพื้นที่ไม่เกิน 10 ไร่ต่อราย ส่วนใหญ่เป็นที่ดินของตนเอง อัตราคำเช่าที่ดิน ไม่เกิน 1,000 บาทต่อไร่ต่อปี ขณะที่อำเภอวังน้ำเขียว เกษตรกรปลูกผักกาดหอมอินทรีย์บนพื้นที่ จัดสรรของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกยตรกรรม เฉลี่ย 2 ไร่ต่อราย ปลูกผักกาดหอมและเมล่อนแบบ ไม่ใช้ดินภายใต้โรงเรือน น้อยกว่า ! ไร่ต่อราย เกยตรกรในอำเภอปากช่องมีขนาดแปลงปลูกผักเพื่อ การค้าแบบวิธีปกติทั่วไป (ใช้สารเคมี)มากกว่า 19.9 ไร่ต่อราย มีโรงเรือนเพาะกล้ำผักจำหน่ายไม่น้อย กว่า 2 ราย มีโรงเรือนปลูกเมล่อนเป็นการค้าไม่น้อยกว่า 3 ราย อัตราค่เช่าพื้นที่เฉลี่ย 3,000 บาทต่อไร่ ต่อปี ส่วนหลักเกณฑ์ที่เกษตรกรใช้ในการพิจารณาเลือกชนิดผักสำหรับปลูก คือ ความถนัดของ แรงงานและราคา และจากการสำรวจข้อมูลใบเขตอำเภอเมือง จำนวน 5 ตำบลประกอบด้วย ตำบลพุด ซา ตลาด พลกรัง สีมุม และบ้าน โพธิ์ พบว่านิยมปลูกหอมแบ่งหลังนา โดยใช้แรงงานมีทักษะในการ เก็บเกี่ยว ส่วนเขตอำเภอสีคิ้ว นิชมปลูกผักชีไทย ผักชีลาว ขึ้นฉ่ย หมุนเวียนแปลงกับการปลูกพืชไร่ พวกมันสำปะหลัง อ้อย และข้าวโพดลี้ยงสัตว์ ในขณะที่เขตอำเภอปากช่อง นิชมปลูกผักหลากหลาย ชนิดโดยเป็นเขตที่ใช้เทคโนโลยีช่วยใบการผลิตผักชัดเจนกว่าอำเภออื่น นอกจากนี้ยังพบว่าโรคและ แมลงศัตรูผัก รวมถึงแหล่งน้ำไม่เพียงพอ เป็นปัญหาที่สำคัญ เกษตรกรแก้ปัญหาไดยใช้สารเคมีหรือ วัสดุปรับสภาพดิน และการขุดบ่อบาดาล ไดยปฏิบัติมากน้อยแตกต่งกันไปตามงบประมาณของแต่ ละราย ทั้งนี้เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้คำนึงข้อแบะนำทางวิชาการที่ภาครัฐแนะนำ สำหรับเรื่อง การ ปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผัก พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับแนวปฏิบัติทางวิชาการ ส่วนเรื่องการตลาดของผัก จากการสำรวจพบว่ามีทั้งรูปแบบจำหน่ายเองและจำหน่ายผ่านพ่อค้าคน กลาง โดยราชได้ของเกษตรกรขึ้นกับกลไกของราคาตลาดรับซื้อเป็นหลัก
บทคัดย่อ (EN): This project aims to study an important information basically of status and problem in the production of economic vegetable crops, their postharvest and market in Nakhon Ratchasima for identifying the problems clearly, after that their results will be used to plan for resolving by suitable technology and applied its technique using to farmers in each area with their acceptation. The project was started by defining suitable target area in Nakhon Ratchasima, it was found 6 districts (Muang, Pak-Thong-Chai (PTC), Wang-Nam-Khieo (WNK), Si-Khio (SK), Pak-Chong (PC) and Soeng-Sang (SS). Cross-sectional sampling survey research was conducted. Data collection by interviewing 198 farmers. The results showed that vegetable production for commercial purposes have 3 systems including a traditional production system, soilless culture system and organic production system. Soilless culture system for vegetable production was mostly found in both WNK and PC and Pak, while organic production system was found only in WNK. Both systems focused on lettuce grown commercially. For information on the survey questionnaire in this project, most farmers are inconvenient to give theirs personal information, Farmer area pin for interviewing was instead. Most farmers are older than 50 years and they had experience for vegetable growing more than 20 years, most of them learned this knowledge from their ancestors. Children of these farmer families do not interest to keep on this career. An production area in PTC, SK and SS, exceeding 10 rai of land per each farmer, mostly their own money and land rental rates not exceeding 1,000 baht per rai per year. While WNK farmers produced organic lettuce and melon in soilless culture with greenhouse on the land of the Office of Reconstruction Agricultural Land, average two rai per person. Farmer in PC has a large area trade for vegetable production with a traditional production system over 19.9 rai per person, vegetable seedling vendor in greenhouse at least two cases, melon commercial production in greenbouse at least three cases and individual rents an average of 3,000 baht per rai per year. The criteria used in how to farmers choose vegetables for growing, is good skilled labor in area and product price. And the survey data in Muang District consists of 5 sub- district (Phutsa, Taraad, was Phol-Gran, Si-Muam and Baan-Pho) were mostly produced multiple- onion after rice harvest in paddy by using skilled labor for harvesting. For SK farmers, were mostly popular growing Thai coriander, Laos coriander and Chinese celery to rotate crops with cassava, sugarcane and maize. While Farmers in PC popularity grown various types of vegetables on farm where technology helps to produce vegetables than other districts. It also found that vegetable pests and water shortage arekey issues that farmers solved these problems by using chemicals or soil conditioners and digging artesian wells, And its concentrate for solving depend on the budgets in each farmer. However, most farmers do not take knowledge from the government recommendations. For the post-harvest vegetables that most farmers still do not give priority to academic practices. As for the survey data of vegetables marketing, found that both forms are directly distributed and sold via middlemen, the farmers income depend mainly on purchasing the market mechanisms.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-03-31
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291796
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สถานภาพและปัญหาในระบบการผลิต การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาดของผักเศรษฐกิจในเขตจังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
31 มีนาคม 2559
เอกสารแนบ 1
ความต้องการของเกษตรกรต่อการผลิตและการตลาดเบญจมาศในจังหวัดนครราชสีมา การศึกษาระบบการผลิตและการตลาดของกะหล่ำปลี การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดผักพื้นบ้าน การผลิตและการตลาดผักสดเพื่อการค้า อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สภาพการผลิตและการตลาดละหุ่งของเกษตรกรในกิ่งอำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา การผลิตและการตลาดสับปะรด จังหวัดเพชรบุรี การผลิตและการตลาดพริกของเกษตรกรในตำบลบัลลังก์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา สถานภาพการผลิตและตลาดไหม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิเคราะห์ศักยภาพด้านการตลาดและการผลิตของผู้ผลิตผักอินทรีย์ในกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านต้นเฮือด ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โครงการวิจัยศึกษาเศรษฐกิจการผลิตยางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก