สืบค้นงานวิจัย
ชุดโครงการหลักการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการเกษตรเพื่อการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยวิธีผสมผสานในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเพิ่มศักยภาพของข้าวสู่การแข่งขันเชิงพาณิชย์บนฐานเศรษฐกิจ แห่งความพอเพียง
สุธีรา สุนทรารักษ์, สุวรรณา จันคนา, สุพัทรา แตงทับทิม - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง: ชุดโครงการหลักการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการเกษตรเพื่อการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยวิธีผสมผสานในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเพิ่มศักยภาพของข้าวสู่การแข่งขันเชิงพาณิชย์บนฐานเศรษฐกิจ แห่งความพอเพียง
ชื่อเรื่อง (EN): The Research and Knowledge dissemination of Agriculture Appropriate Technology for Organic Rice Production Integrated System on Smallholder Farmers at Pa Kham Distric, Buriram Provinces for Increasing Potential of Rice to Commercial Competition on Economic base of self-sufficiency.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม โดยการถ่ายทอดความรู้ผ่านกระบวนการมีส่วนรวมเชิงปฏิบัติการด้วยรูปแบบการอบรมและฝึกทักษะความรู้ความเข้าใจสู่กลุ่มผู้สนใจ เพื่อการผลิตข้าวอินทรีย์ในเขตพื้นที่ตำบลหูทำนบ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยการใช้ประเด็นข้อปัญหาต่างๆ ที่พบมาเป็นโจทย์วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน มีแผนงานจัดการความรู้อย่างครบวงจร โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยกระดับองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการผลิตข้าวอินทรีย์แก่เกษตรกรรายย่อยในกลุ่มเป้าหมาย ผลการทดลองพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยเกษตรกรรายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ที่ทำนาข้าว ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 ตำบลหูทำนบ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2560 และนักศึกษาสาขาวิชาเคมีร่วมด้วยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ้น 15 คน ด้านความรู้เรื่องพืชสมุนไพรเพื่อต้านเชื้อราก่อโรคในข้าวและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุในท้องถิ่น ภายหลังการเข้าร่วมโครงการ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นกว่าก่อนการอบรม สำหรับความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมในการเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการโดยภาพรวมทั้งหมดและการนำไปใช้ประโยชน์ในอาชีพหรือสร้างรายได้ มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด
บทคัดย่อ (EN): This study is a participatory action research study. By transferring knowledge through a participatory process, workshops, and skill-based training to the target audience. For organic rice production in Tambon district, Pakkham district, Buriram province By using various issues. Find a solution and solve problems together. Have a comprehensive knowledge management plan. By focusing on strengthening and upgrading the knowledge and technology of organic rice production to smallholder farmers in target groups. The results showed that Participants included small farmers in Patum Kham district. Buriram Province, where paddy fields were planted at Moo 1, Tambon Tap Mai, Amphoe Pakham, Buriram, on July 23, 2017 and 15 students in chemistry with environmental science. Rice and Organic Fertilizer Production from Local Scrap After joining the project. Trainees have more knowledge than before training. For the satisfaction of participants in the workshop as a whole. And to take advantage of a career or make money. Have the highest level of satisfaction
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชุดโครงการหลักการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการเกษตรเพื่อการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยวิธีผสมผสานในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเพิ่มศักยภาพของข้าวสู่การแข่งขันเชิงพาณิชย์บนฐานเศรษฐกิจ แห่งความพอเพียง
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
30 กันยายน 2560
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อบูรณาการ การเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าวอินทรีย์ของกลุ่มผู้ปลูกข้าวอินทรีย์จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการย่อยที่2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากกากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกลุ่มเกษตรกร รายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ การเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ดีและถ่ายทอดงานวิจัยสู่เกษตรกรจังหวัดสระบุรี การใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ร่วมโครงการผลิตข้าวอินทรีย์ ปี 2548 จังหวัดอุทัยธานี การศึกษาประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตข้าวอินทรีย์ การพัฒนาเชื้อราไตรโคเดอร์มาปฏิปักษ์ที่ช่วยเพิ่มผลผลิตและลดโรคข้าวเป็นชีวภัณฑ์เชิงพาณิชย์ การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตเกษตรกรที่ผลิตข้าวอินทรีย์กับเกษตรกรที่ผลิตข้าวเคมีในจังหวัดสุรินทร์ การผลิต resistant starch จากแป้งข้าวด้วยวิธีการย่อยแป้งด้วยกรดร่วมกับการให้ความร้อนและความชื้น ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการผลิตข้าวอินทรีย์ โครงการเกษตรอินทรีย์วิถีศรีสะเกษ ปี 2547 จังหวัดศรีสะเกษ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก