สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลานิลจาก Bio-flocs เหลือทิ้งจากระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่น
สุไหลหมาน หมาดโหยด - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลานิลจาก Bio-flocs เหลือทิ้งจากระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่น
ชื่อเรื่อง (EN): The utilization of access Bio-floc from intensive freshwater fish culture for immuno-stimulant development in tilapia
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุไหลหมาน หมาดโหยด
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การพัฒนาสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลานิลจาก Bio-[oc เหลือทิ้งจากระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำ บบหนาแน่น มีวัตถุประสงค์ (1)เพื่อศึกษาประสิทธิภาพใบโอฟลอคในกระบวนการผ (2) เพื่อพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิตสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันสำร็จรูปจากไบโอฟลอด และ (3) เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพตะกอนฟลอคเสริมสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อการต้นเชื้อแบดทีเรียก่อ โรคในปลานิล ซึ่งผลการทคลองพบว่าการใช้ไบโอฟลอคในกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในรูปแบบการเลี้ยงปลานิลแปลงเพศแบบหนาแน่นสามารถน้ำหนักสุดท้าย น้ำหนักเพิ่มต่อวัน, อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ อัตราการกินอาหาร อัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ อัตราการรอด มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-0.05) ส่วนการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิต สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปจากไบโอฟลอด การวิจัยสามารถผลิตเครื่องอบลมร้อนที่ใช้สำหรับอบ ตะกอนฟลอดก่อนนำไปใช้ผลิตสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป และมีการทดสอบหาผลกระทบของ ระดับอุณหภูมิของลมร้อนที่ใช้ในการอบแห้งต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงความชื้นของไบโอฟลอค และ หาแบบจำลองการอบแห้งที่เหมาะสมในระหว่างการอบแห้ง ซึ่งจากการทคสอบพบว่าอัตราการ อบแห้งมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อใช้อุณหภูมิอบแห้งสูงขึ้น แบบงำลองการอบแห้ง Midili et al. ให้ผลการ ทำนายการอบแห้งดีที่สุด โดยให้ค่า ( สูงที่สุด มีค่าระหว่าง0,9983-09998 ในขณะที่ให้ค่า Xและ RMSE น้อยที่สุด มีคำระหว่าง 0.00004-0.00017 และ 0.00602-0.0107 ตามลำดับ ส่วนการตรวจสอบ ประสิทธิภาพของตะกอนฟลอดเสริมสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อเชื่อเบคทีเรียก่อโรคในปลานิล โดยการ นำตะกอนฟลอดเสริมเบต้ากลูแคน และนิวคลิโฮไทด์ มาทคสอบกับเชื้อแบคทีเรีย Acromonas hydrophila ซึ่งการทดสอบพบว่าสามารถป้องกันการติดเชื้อในปลานิลได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยรูปแบบการใช้เป็นแบบการเสริมในสัดส่วนของเปอร์เซ็นต์การให้อาหารสำเร็จรูป
บทคัดย่อ (EN): A development of immuno-stimulant of Nile Tilapia derived from Bio-flocs waste of high density aquaculture system was aimed to 1) to investigate bio-flocs potential in aquatic production system, 2) to develop a tool used in a development process of immune-stimulant from Bio-flocs and 3) to examine potency of Bio-flocs supplemented with immune-stimulant substances on pathogenic bacteria in Nile Tilapia. Results revealed that Bio-flocs utilization particularly in a form of high density transgendered Nile Tilapia aquaculture system was capable of increase final weight, average daily weight increase, specific growth rate, feeding rate, feed conversion rate and survival rate were statistically significant difference (p<0.05). Additionally, for the development of extraction of instant immune-stimulant from Bio-focs, an innovative drying equipment was invented so as to dehydrate Bio-flocs sediment prior to be employed to produce ready-to-use immune-stimulant substances. Furthermore, a test of various temperature effects when drying was operated on moisture change rate of Bio-flocs and a determination of appropriate drying modelling was carried out. Results demonstrated that when drying temperature was raised, drying rate would be increased and drying model as described by Midilli et al. gave the best and suitably fit drying behavior prediction with the highest R values being between 0.9983-0.9998 and X and the least RMSE vales being between 0.00004-0.00017 and 0.00602-0.01075 respectively.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลานิลจาก Bio-flocs เหลือทิ้งจากระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
30 กันยายน 2558
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาข้าราชการกรมประมง การเลี้ยงปลานิลในกระชังด้วยระบบ LVHD (การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง) การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี การใช้เทคโนโลยี bio-flocs ในการเลี้ยงกุ้งขาวและปลานิลแบบผสมผสาน การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิด การเพิ่มมูลค่าสมุนไพรโดยนาโนเทคโนโลยีเพื่อใช้เป็นสารกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในปลานิล การศึกษาประสิทธิภาพของรางดักตะกอนในการบำบัดน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงปลานิลในระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิด โครงการร่วมวิจัยและพัฒนาต้นแบบ ระบบหมุนเวียนน้ำเพื่อการเลี้ยงลูกปลานิลเชิงพาณิชย์ การใช้เทคนิคชีววิถีในระบบกรองน้ำของบ่อเลี้ยงปลานิลระบบปิดเพื่อผลผลิตปลานิลในเชิงพาณิชย์ การพัฒนาระบบการผลิตปลานิลเพื่อเข้าสู่มาตรฐานการส่งออก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก