สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาวัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้บำรุงรักษาคลองชลประทาน
พีรวัฒน์ ปลาเงิน - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาวัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้บำรุงรักษาคลองชลประทาน
ชื่อเรื่อง (EN): The development of coating material mixed with rubber latex for irrigationcanal maintenance
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พีรวัฒน์ ปลาเงิน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวัสดุเคลือบผิวดลองผสมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับใช้ใน การเคลือบผิวคลองชลประทานเพื่อป้องกันการรั่วซึมของน้ำและความต้านทานซัลเฟสของวัสดุ เคลือบผิวคลอง การทดสอบในห้องปฏิบัติการประกอบด้วย การศึกษาคุณสมบัติด้านวิศวกรรม การดูดซึมน้ำและการกัดกร่อนเนื่องจากสารละลายซัลเฟส กำหนดปริมาณน้ำยางต่อปูนซีเมนต์ โดยน้ำหนัก (p/๔) 5%, 10% และ 15% ปริมาณเถ้าแกลบที่ใช้ผสมวัสดุเคลือบผิว 5%, 10% และ 15% ของปริมาณน้ำหนักปูนซีเมนต์ ดังนั้นวัสดุเคลือบผิวประกอบด้วยปูนซีเมนต์ เถ้า แกลบ น้ำ และน้ำยางพารา ผลการวิจัยพบว่วัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางโดยใช้ อัตราส่วนระหว่างน้ำต่อปูนซีเมนต์ (Wc) 0.4 ปริมาณน้ำยางต่อปูนซีเมนต์โดยน้ำหนัก (pc) 15% และปริมาณเถ้าแกลบ 5% ของปูนซีเมนต์ ได้ค่คุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมดีที่สุด ประกอบด้วย กำลังรับ แรงอัด 316 ksc กำลังรับแรงดัด 29.5 ksc. กำลังรับแรงดึง 47 ksc. ร้อยละการดูดซึมน้ำ 3.25ร้อยละความทนทานต่อการกัดกร่อนของสารละลายซัลเฟส 3.25 ดังนั้น วัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางถูกนำไปใช้เคลือบผิวดลองและซ่อมแซมรอยแตกร้าวที่ โครงการสังน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
บทคัดย่อ (EN): This research aims to analyze the properties of coating material mixed with prevulcanized latex for irrigation canal maintenance in order to prevent water seepage. Also the research analyzed the resistance of cement paste mixed rice husk fly ash and pre- vulcanized latex mixture against sulfate. The laboratory tests were performed to study the improvement in increasing engineering properties of coating material in irrigation canal wall, water absorption and sulfate resistance of coating material. Different proportion of cement paste with polymer concrete (P/C) 5%, 10% and 15% were analyzed. Rice husk fly ash was mixed with portland cement in different proportions of 5%, 10% and 15% of portland cement by weight to analyze the best proportion. The coating material used in this research for irrigation canal maintenance consist of portland cement, rice husk fly ash, pre-vulcanized latex and water. The results of the research indicate that water cement ratio (w/c) 0.4, polymer concrete ratio (P/C) 15% and rice husk fly ash portland cement ratio 15% gives the best performance. Average strength of the mixture on 28th day were, 316 ksc compressive strength, 29 ksc flexural strength and 47 ksc shear strength. Average water absorption of the mixture was 3.25% and sulfate resistance of coating material was 3.25%. Considering the satisfactory performance of the materials prepared, coating material was used for repairing irrigation canal wall and irrigation canal crack in the Pasak Dam operation and maintenance project in Loburi Province.
ชื่อแหล่งทุน: กลุ่มเรื่องยางพารา (เปิดทุนเพื่อปิดโครงการ) ปี 2556
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: RDG5650079
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:62633
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาวัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้บำรุงรักษาคลองชลประทาน
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2557
เอกสารแนบ 1
การพัฒนาคลองชลประทานผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา การพัฒนาคลองชลประทานผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา กลุ่มวิจัยยางพารา การบำรุงรักษาโดยกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การศึกษาการสูญเสียน้ำเนื่องจากการรั่วซึมในแบบจำลองคลองชลประทานที่มีส่วนผสมของน้ำยางพารา การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การพัฒนาอุปกรณ์วิเคราะห์น้ำยางพาราสำหรับใช้งานในสวนยางพารา การเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพาราโดยใช้ระบบกรีดสองหน้ากรีดแบบสลับ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก