สืบค้นงานวิจัย
การจัดทำถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับชุมชนริมคลองชลประทาน
สมบูรณ์ มั่นความดี - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การจัดทำถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับชุมชนริมคลองชลประทาน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมบูรณ์ มั่นความดี
บทคัดย่อ: ได้ออกแบบระบบถังบำบัดแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรและโรงงานผลิตเต้าหู้ก่อนปล่อยลงคลองชลประทานถังบำบัดทำด้วยไฟเบอร์กลาสผลการทดลองพบว่าระบบบำบัดสามารถลดค่า BOD ลงได้ 76 % ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับน้ำเสียที่มีค่า BOD สูงจะอยู่ในช่วง 50-80%
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
คำสำคัญ:
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: P ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (Natural resources)
เจ้าของลิขสิทธิ์: กรมชลประทาน
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ กรมชลประทาน (rada_ru@rid.go.th) on 2018-05-31T03:07:26Z No. of bitstreams: 1 การจัดทำถังบำบัดน้ำเสีย สมบูรณ์.pdf: 10342715 bytes, checksum: 19227c03010373645579680e7cb1a913 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การจัดทำถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนสำหรับชุมชนริมคลองชลประทาน
สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
กรมชลประทาน
การยอมรับของเกษตรกรและผู้บริโภคต่อการน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนกลับมาใช้ในการเกษตรกรรม การบำบัดน้ำเสียชุมชนด้วยพืชโดยใช้หินพัมมิชเป็นวัสดุปลูกร่วมกับดิน การบริหารจัดการคุณภาพน้ำชลประทานเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทานให้มีศักยภาพสูงในการให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้ระบบโทรมาตร: กรณีศึกษาที่ II การติดตามประเมินผลระบบบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน ฟาร์มเลี้ยงสุกรและอุตสาหก การบริหารจัดการคุณภาพน้ำชลประทานเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทานให้มีศักยภาพสูงในการให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้ระบบโทรมาตร: กรณีศึกษาที่ II การติดตามประเมินผลระบบบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน ฟาร์มเลี้ยงสุกรและอุตสาหก ผลิตภัณฑ์สารเร่งตกตะกอนในการบำบัดน้ำเสียชุมชน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชุมชนจากการรุกล้ำของน้ำเค็ม ในพื้นที่ชลประทานเพชรบุรี อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีในเขตชลประทานต่อคุณภาพน้ำของคลองส่งน้ำ การพัฒนาวัสดุเคลือบผิวคลองผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้บำรุงรักษาคลองชลประทาน ความถี่ อัตราและช่วงระยะเวลาการให้น้ำสำหรับอ้อยในเขตชลประทานภาคกลาง ผลกระทบจากการระบายน้ำทำเทือกนาหว่านน้ำตมที่มีผลต่อคลองชลประทานและการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 2
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก