สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาเมล็ดและน้ำมันสบู่ดำ
ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาเมล็ดและน้ำมันสบู่ดำ
ชื่อเรื่อง (EN): The Research and Development of nut and Oil storage Technology of Physic nut
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้ มีวัถุประสงค์ คือ เพื่อให้ได้วิธีและเครื่องมือการทำความสะอาค เมล็ดสบู่ ดำเพื่อการสกัดน้ำมันและการทำพันธุ์ เพื่อศึกษาวิธีการเก็บรักษาเมล็ดสบู่ดำที่เหมาะสมในการสกั น้ำมัน เพื่อศึกษาวิธีการเก็บรักษาน้ำมันสบู่ดำที่เหมาะสม และเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ กลุ่มเป้าหมาย ผลการออกแบบ โครงสร้างเครื่องกะเทะคัดแยกและทำความสะอาดเมล็ดสบู่ดำมีขนาค ความกว้าง 730 มิลลิเมตร ความยาว เ,375 มิลลิเมตร ความสูง 1,100 มิลลิเมตร ออกแบบชุดลูกบีบ สบู่ดำ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 72 มิลลิเมตร ความยาว 600 มิลลิเมตร มีร่องฟันห่าง 27.78 มิลลิเมตร ใช้มอเตอร์ ! แรงม้ ความเร็วรอบ 1,450 รอบต่อนาที เป็นต้นกำลังโดยมีสายพานและโซ่ ในการส่งกำลังโคยมีล้อสายพานขับ 63.5 และ 101.6 มิลลิเมตร ตามลำดับ และจากการ ทคสอบและ ประเมินผลเครื่อง พบว่าระดับอัตราการป้อนที่ ร0 กิโลกรัมต่อชั่วโมงเหมาะสมที่สุด มีความสามารถ ในการกะเทาะคัดแยกและทำความสะอาคเท่ากับ 97.75 93.6ร และ 98.43 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ และจากการศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์มีค่าเครื่องรวมคำแรงเท่ากับ 20,000 บาท ราคา ต้นทุนต่อกิโลกรัมอยู่ที่ 3.23 บาทต่อกิโลกรัม ค่าสิ้นเปลืองพลังงานที่ระดับอัตราการป้อน s0 6 และ 6 กิโลกรัมต่อชั่วโมงเท่ากับ 0.6 1 1.2 และ 1.64 บาท ตามลำดับได้ผลกำไรที่ราคากะเทาะคัด แยกและทำความสะอาดเมล็ดสบู่ดำ 4.2 บาทต่อกิโลกรัม เครื่องทำงาน 78,561 กิโลกรัมต่อปี จะได้ กำไร 74,633 บาทต่อป ระยะเวลาคืนทุน 71 วันจากการ วิจัย การเก็บรักษาเมล็ดและน้ำมันสบู่คำ พบว่าการเก็บเมล็ดและน้ำมันสบู่คำใน อุณหภูมิห้องจะทำให้น้ำมันที่สกัดได้และน้ำมันที่เก็บรักยามีคุณสมบัติ ด้านสี และความหนืดเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเก็บรักษาเพิ่มขึ้นเกินกว่า 12-18 เดือน ในขณะที่น้ำมันสบู่ดำที่เก็บในอุณหภูมิ รc มีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะสิ สำหรับน้ำมันสบู่ดำที่แยกยางและไขมัน (กลีเซอรีน) ออกที่ผ่านการ เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิ sC คุณสมบัติต่างๆไม่มิการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเก็บรักษา 36 เดือน การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการศึกษาวิจัย โดย การฝึกอบรมเกษตรกรและผู้ประกอบการ และการใช้เป็นสื่อหรือใช้ประกอบในการเรียนการสอน
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาเมล็ดและน้ำมันสบู่ดำ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
30 กันยายน 2553
การวิจัยกระบวนการเก็บรักษา และอายุวางจำหน่าย ของน้ำคั้นต้นกล้าและผลิตภัณฑ์สุขภาพจากธัญพืชไทย การวิจัยและพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำมันสบู่ดำ การพัฒนาระบบการกรองน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำ การศึกษาและสกัดเอนไซม์ไลเปสจากเมล็ดสบู่ดำเพื่อควบคุมคุณภาพน้ำมันและเพิ่มทางเลือกในการใช้ประโยชน์ การสกัดน้ำมันจากเมล็ดชะมดต้น (Hibiscus abelmoschus Linn.) ผลของระดับความรุนแรงของโรคเมล็ดด่างต่ออายุการเก็บรักษาของเมล็ดข้าวพันธุ์หลัก การพัฒนาพันธุ์สบู่ดำเพื่อเพิ่มผลผลิตเมล็ดและปริมาณน้ำมันให้เหมาะสมกับ ภาคเหนือของไทย การทดสอบประสิทธิภาพเฉพาะของสารเร่งปฏิกิริยาเพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำ การพัฒนากระบวนการผลิตและชุดเครื่องมือต้นแบบในการผลิตน้ำมันสบู่ดำระดับชุมชน การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสบู่ดำเพื่อเป็นพลังงานทดแทนใน ระดับชุมชนเกษตรในเขตจังหวัดพิษณุโลก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก