สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาความเข้มแข็งของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่
พหล ศักดิ์คะทัศน์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาความเข้มแข็งของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): Strength of Community’ s Spa and Thai Traditional Massage Business in Chiang Mai
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พหล ศักดิ์คะทัศน์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Phahol Sakkatat
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิจัยครั ้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้มแข็งและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความความเข้มแข็งของ กลุ่มธุรกิจ สปาและนวดแผนไทยโดยชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทําการสุ่มตัวอย่างจํานวน 111 กลุ่ม จาก 6 อําเภอ ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กับหัวหน้ากลุ่มหรือผู้แทนที่สามารถให้ข้อมูลได้ดี ของ ธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนนั ้นๆ ใช้การวัดตามแบบของ Likert วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและ การวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มธุรกิจฯ มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับมาก (เฉลี่ย 3.85) ส่วนปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความเข้มแข็งของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยจาก 8 ตัวแปร ได้แก่ ทุนทางสังคม การมีเครือข่าย ภาวะ ผู้นํา การมีส่วนร่วม ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรด้านเงิน ทรัพยากรด้านวัสดุ และกลไกและการบริหารจัดการ ทาง พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลโดยรวมและอิทธิพลทางตรงที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งมากที่สุด คือกลไกและกระบวนการ บริหารจัดการ ส่วนอิทธิพลทางอ้อมคือ ทรัพยากรด้านเงิน
บทคัดย่อ (EN): This research was conducted to investigate strength and factors affecting strength of community’s spa and Thai traditional massage businesses (CSMBs) in Chiang Mai. The data were collected by interviewing from head or delegate of 111 CSMBs in 6 amphoes. Likert scale was used in measuring of attitude. Data was analyzed by using descriptive statistics and path analysis. The result revealed that the strength of CSMBs were most level (ˉx = 3.85). Eight factors affecting the strength of spa and the traditional massage business were social resource, network, leadership, participation, personnel resources, financial resource, material, and administrative mechanism. By using path analysis, the overall and direct factors effecting strength of CSMBs was administrative mechanism whereas the indirect was money resources.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-54-073
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: https://esd.kps.ku.ac.th/kuk-conference/img/gallery/article_9/pdf/o_ag_ext03.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาความเข้มแข็งของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การพัฒนาดัชนีชี้วัดและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จอย่างยั่งยืนของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยและพัฒนาทักษะและการจัดการด้านการนวดแผนไทยเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวในชุมชน แนวทางการพัฒนาธุรกิจที่พักแรมราคาประหยัดในจังหวัดกำแพงเพชร การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การพัฒนารูปแบบเครือข่ายธุรกิจ OTOP เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนของภาคเหนือตอนบน โครงการพัฒนาวารสารสังคมศาสตร์ Social Science Asia: บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร ศึกษาศักยภาพด้านต้นทุนของกระบวนการจัดการธุรกิจปาล์มน้ำมันเพื่อความได้เปรียบทางการค้าของประเทศไทย เครือข่ายธุรกิจและผลกระทบของการเปิดบ่อนคาสิโนตามชายแดนไทย-พม่า : กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก การวิเคราะห์ห่วงโซ่มูลค่าของธุรกิจกล้วยไม้ตัดดอกในจังหวัดเชียงใหม่ การสร้างความยั่งยืนของระบบวนเกษตรต้นแบบบริเวณแหล่งต้นน้ำเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้านธุรกิจทุเรียนพันธุ์พื้นเมือง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก