สืบค้นงานวิจัย
การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นของอ้อยลูกผสมชุด CSB15 ในเขตภาคกลาง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี (ชุดที่ 1)
ปรีชา พลรักษา, 1 ปิยะนุช คำแว่น, ทรงวิทย์ ดาเคน, สุรชัย วงภักดิ์, ชัชวาลย์ เซี่ยงฉิน, หัชวัจน์ กลิ่นบานชื่น, คุณัญญา นาสวนขจร - สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
ชื่อเรื่อง: การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นของอ้อยลูกผสมชุด CSB15 ในเขตภาคกลาง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี (ชุดที่ 1)
ชื่อเรื่อง (EN): The Comparison on CSB15 Cane Series in Preliminary Yield Trial Stage in Tha-Maung District Kanchanaburi Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: การคัดเลือกพันธุ์อ้อยลูกผสมชุด CSB15 ขั้นเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นทำการปลูกทดลองที่แปลงของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายภาคที่ 1 ต.ทุ่งทอง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี สามารถคัดเลือกลูกอ้อยผสมที่มีลักษณะดีเด่น ที่มีแนวโน้มจะผ่านการคัดเลือก จำนวน 48 สายพันธุ์ ได้แก่ หมายเลขพันธุ์ CSB15-14 CSB15-17 CSB15-20 CSB15-22 CSB15-25 CSB15-43 CSB15-47 CSB15-51 CSB15-55 CSB15-58 CSB15-60 CSB15-62 CSB15-95 CSB15-96 CSB15-99 CSB15-112 CSB15-113 CSB15-114 CSB15-117 CSB15-119 -121 CSB15-123 CSB15-129 CSB15-130 CSB15-136 CSB15-140 CSB15-143 CSB15-144 CSB15-146 CSB15-148 CSB15-153 CSB15-155 CSB15-171 CSB15-200 CSB15-203 CSB15-210 CSB15-218 CSB15-219 CSB15-220 CSB15-221 CSB15-224 CSB15-234 CSB15-237 CSB15-243 CSB15-247 CSB15-248 CSB15-253 และ CSB15-255 โดยใช้พันธุ์ตรวจสอบทั้งหมด 2 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ ขนาดแปลงย่อย 6.0 x 8.0 เมตร พื้นที่เก็บเกี่ยว 24 ตารางเมตร ใช้ระยะเวลาศึกษา 2 ปี คือ ในระยะอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1 โดยใช้ผลการทดลองด้านผลผลิตอ้อย คุณภาพความหวาน ผลผลิตน้ำตาล จำนวนลำเข้าหีบ ลักษณะทางการเกษตร และความต้านทานโรคและแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาคัดเลือก จากการทดลองพบว่า อ้อยลูกผสมชุด CSB15 มีพันธุ์ที่น่าสนใจ ได้แก่ พันธุ์ CSB15-55 CSB15-95 CSB15-129 CSB15-144 และ CSB15-221 ที่มีผลผลิต คุณภาพความหวาน ผลผลิตน้ำตาล และจำนวนลำเข้าหีบ และลักษณะทางการเกษตรดีกว่าพันธุ์ตรวจสอบ แต่ข้อมูลดังกล่าวยังไม่เพียงพอ ต้องพิจารณาข้อมูลในขั้นเปรียบเทียบพันธุ์มาตรฐานต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Selection of hybrid sugarcane CSB15 series. The preliminary varietal comparison step was to be planted in an experimental planting at the Cane and Sugar Industry Promotion Center Region 1, Thung Thong Subdistrict, Tha Muang District, Kanchanaburi Province. 48 cultivars that are likely to pass the selection are: CSB15-14, CSB15-17, CSB15-20, CSB15-22, CSB15-25, CSB15-43, CSB15-47, CSB15-51, CSB15-55, CSB15-58, CSB15-60, CSB15-62. CSB15-95 CSB15-96 CSB15-99 CSB15-112 CSB15-113 CSB15-114 CSB15-117 CSB15-119 -121 CSB15-123 CSB15-129 CSB15-130 CSB15-136 CSB15-140 CSB15-143 CSB15-144 CSB15-146 CSB15-148 CSB15-153 CSB15-155 CSB15-171 CSB15-200 CSB15-203 CSB15-210 CSB15-218 CSB15-219 CSB15-220 CSB15-221 CSB15-224 CSB15-234 CSB15-237 CSB15-243 CSB15-247 CSB15- 248 CSB15-253 and CSB15-255, using 2 test cultivars, namely Khon Kaen 3 and LK92-11, planned the RCB experiment with 3 replications, plot size 6.0 x 8.0 m, harvest area 24 m2, study duration 2 years. That is, in the planting sugar cane stage and sugar cane stump 1 by using the results of sugarcane yield experiments. Sweetness quality, sugar yield, number of trunks agricultural characteristics and resistance to important diseases and pests of sugarcane as information for selection consideration From the experiment, it was found that The CSB15 hybrid sugarcane series contained interesting cultivars such as CSB15-55, CSB15-95, CSB15-129, CSB15-144 and CSB15-221 with yield, sweetness quality, sugar yield and number of hulls. and agricultural characteristics are better than the check varieties But such information is not enough. The data must be considered in the next step of comparing the standard varieties.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2563
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2563
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นของอ้อยลูกผสมชุด CSB15 ในเขตภาคกลาง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี (ชุดที่ 1)
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
2563
เอกสารแนบ 1
การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่นของอ้อยลูกผสม ชุด CSB11 ในเขตภาคกลาง อำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นของอ้อยลูกผสมชุด CSB15 ในเขตภาคกลาง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี (ชุดที่ 2) การศึกษาลักษณะดินในพื้นที่โครงการ The change of the tropical forests and their influences บริเวณสถานีวิจัยเพื่อรักษาต้นน้ำแม่กลอง จังหวัดกาญจนบุรี ศึกษาเปรียบเทียบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยวในสภาพไร่จังหวัดกาญจนบุรี เปรียบเทียบผลผลิตพันธุ์หม่อนลูกผสมชุดที่ 1 ในสถานที่ต่าง ๆ การเปรียบเทียบพันธุ์มาตรฐานของอ้อยลูกผสม ชุด CSB14 ในเขตภาคกลาง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี การเปรียบเทียบพันธุ์อ้อยลูกผสมชุด มข.1999 ภายใต้เขตเกษตรนิเวศต่างๆ การพัฒนาชุดวัดน้ำหนักสำหรับติดตั้งกับรถบรรทุก การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นของอ้อยลูกผสมชุด CSB15 ในเขตภาคตะวันออก (ระยะอ้อยปลูก) ผลของการใช้น้ำเสียจากฟาร์มเลี้ยงสุกรต่อผลผลิตอ้อยที่ปลูกบนดินร่วนปนดินเหนียว กลุ่มชุดดินที่ 29 ชุดดินบ้านจ้อง

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก