สืบค้นงานวิจัย
ผลของอุณหภูมิต่อแมลงพาหะ Matsumuratettix hiroglyphicus นำโรคใบขาวอ้อย
ชนาณัฐ แก้วมณี - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของอุณหภูมิต่อแมลงพาหะ Matsumuratettix hiroglyphicus นำโรคใบขาวอ้อย
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of temperatures on insect vector Matsumuratettix hiroglyphicus associated with sugarcane white leaf disease
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชนาณัฐ แก้วมณี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chananat Kaewmanee
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โรคใบขาวอ้อยเป็นโรคที่สำคัญต่อการปลูกอ้อย มีสาเหตุจากเชื้อไฟโตพลาสมาซึ่งมีเพลี้ยจักจั่น M. hiroglyphicus เป็นแมลงพาหะนำโรค อุณหภูมิเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาโรคและประสิทธิภาพในการถ่ายทอดเชื้อของแมลงพาหะ ทั้งเพศเมียและเพศผู้ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุณหภูมิห้อง (26*C), 20*C, 25'C, 30*C และ 35' C ต่อการเจริญเติบโต ของเพลี้ยจักจั่น M. hiroglyphicus และปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในตัวแมลงพาหะ ผลศึกษาพบว่าวงจรชีวิตจากระยะไข่ ถึงระยะตัวอ่อนที่อุณหภูมิ 35*C มีวงจรชีวิตสั้นที่สุดคือ 21.34:2.06 วัน เช่นเดียวกับตรวจพบเชื้อไฟโตพลาสมาจากแมลง พาหะเพศเมียและเพศผู้ที่มากที่สุดที่อุณหภูมิ 35'C คือ 75% และ 65% อย่างไรก็ตามที่อุณหภูมิห้อง ปริมาณของเชื้อไฟโต พลาสมาในตัวแมลงพาหะเพศเมียและเพศผู้พบมากที่สุดคือ 31.34x10'20.50x100 และ 19.52x10+11.66x10' copies/ ไมโครลิตรของ DNA แมลง จากงานวิจัยนี้พบว่าอุณหภูมิห้อง (26*C) เป็นอุณหภูมิที่เหมาะสมของเชื้อไฟโตพลาสมาโรค ใบขาวอ้อยในการเจริญเติบโตในตัวแมลง ในขณะที่อุณหภูมิ 35*C มีผลต่อการเจริญพันธุ์ของแมลงพาหะที่เร็วขึ้นและ มีการแพร่กระจายของเชื้อไฟโตพลาสมาในตัวแมลงพาหะมากกว่าอุณหภูมิที่ต่ำกว่า
บทคัดย่อ (EN): Sugarcane white leaf (SCWL) disease is a major disease of sugarcane production, associated with phytoplasma which transmitted to sugarcane by the leafhopper M. hiroglyphicus. Temperature is an important factor for the disease development and the disease transmission efficiency by females and males of insect vector. Therefore, the objectives of this study was to evaluate the effect of the different temperatures (room temperature(26°C), 20°C, 25°C, 30°C and 35°C) on the development of leafhopper M. hiroglyphicus and quantification of SCWL phytoplasma in insect vector. The results showed the life cycle from egg to nymph stage was a shortest at 35°C for 21.34±2.06 days. In addition, the presence of SCWL phytoplasma at 35°C was highest in female and male insect vectors at 75% and 65%. However, phytoplasma at the room temperature, infected female and male leafhopper insects had the highest detectable amount of SCWL phytoplasma at 31.34x106 ±20.50x106 and 19.52x106 ±11.66x106 copies/µl of insect DNA. These results suggested that the conditions for the development of the phytoplasma are optimum at the lower temperature. This suggested that the temperature is an important factor both in the speed of reproduction of the insect vector (higher temperature) and the multiplication of the SCWL phytoplasma in this insect vector, though at a lower optimum temperature.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=352.pdf&id=662&keeptrack=17
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของอุณหภูมิต่อแมลงพาหะ Matsumuratettix hiroglyphicus นำโรคใบขาวอ้อย
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2555
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของเพลี้ยจักจั่นพาหะนำโรคใบขาวอ้อย ระยะเวลาการบ่มและเพิ่มปริมาณเชื้อที่เหมาะสมต่อการถ่ายทอด เชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุของโรคใบขาวอ้อยของเพลี้ยจักจั่นพาหะ ลักษณะรูปร่างสัณฐานของอ้อยและสายพันธุ์อ้อยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของแมลงพาหะ (Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura)) โรคใบขาวอ้อย ประชากรแมลงพาหะ (Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura)) และการเกิดโรคใบขาวอ้อยในระบบการปลูกข้าวไร่ สลับกับอ้อย และระบบปลูกอ้อยเชิงเดี่ยว ผลของการเก็บรักษาภายใต้อุณหภูมิต่ำที่มีต่อประสิทธิภาพของแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum Viggiani (Hymenoptera: Trichogrammatidae) ในการควบคุมหนอนกออ้อย การศึกษาชีวชนิดและการนำโรคเส้นใบเหลืองของแมลงหวี่ขาวในกระเจี๊ยบเขียว ความหลากหลายและสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างอ้อยพันธุ์การค้า ในประเทศไทย การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและผลของอุณหภูมิการคั้นต่อคุณภาพน้ำคั้นใบย่านาง ผลของการจัดการแปลงอ้อยระยะยาวต่อการกระจายตัวของราก และการให้ผลผลิตอ้อย อิทธิพลของฤดูกาลและดัชนีอุณหภูมิความชื้นต่อการเกิดรกค้างในโคนมลูกผสมขาวดำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก