สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาของเห็ดบด (Lentinus polychrous. Lev.) ในพื้นที่จังหวัดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
สมชาย รัตนมาลี - มหาวิทยาลัยนครพนม
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาของเห็ดบด (Lentinus polychrous. Lev.) ในพื้นที่จังหวัดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ชื่อเรื่อง (EN): The Biology of Lentinus polychrous. Lev. in Nakhonphanom Province, Thailand and Khawaeng Khammouane, Loas
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมชาย รัตนมาลี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การสำรวจพนธเหดบด (Lentinuspolychrous Lev.) ในจงหวดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำมวน ประเทศ สาธารณรฐประชาธปไตยประชาชนลาว ในระหวางเดอนเมษายน ถงเดอนพฤศจกายน 2553 ปรากฏวาม 13 พนธทพบใน จงหวดนครพนมและอก 10 พนธพบทแขวงคำมวน ประเทศลาว โดยพบทอำเภอเมอง อำเภอทาอเทน อำเภอปลาปาก อำเภอ เรณนคร เมองหนบร เมองทาแขก เมองยมราช เมองมหาชย และ เมองนากาย พนธเหดบดทง 23 พนธมลกษณะของเสนใย สขาวเหมอนกน แตมความแตกตางกนในรปราง ลกษณะของหมวกดอก ครบ เกลด กานดอก สหมวกดอก สครบดอก และ ขนาดของดอกเหด โดยเฉพาะพบวาเสนผาศนยกลางของหมวกเหดมขนาดตงแต 4.0 - 14.5 เซนตเมตรเหดบดบางพนธ ดอกหนา บางพนธดอกบาง จำนวนครบเหดบดมตงแต 85 - 730 ครบ ความยาวของครบมตงแต 2.0 - 10.0 เซนตเมตร ดอกท ยงออนครบเปนสขาวนวล แตดอกทแกครบจะเปนสนำตาลเขม นำหนกแหงของดอกเฉลย 2.0 - 15.0 กรม นำหนกสดเฉลยอยท 5.0 - 35.0 กรม สะเกดบนหมวกดอกมความแตกตางกนระหวางดอกทออกในฤดหนาวชวงเดอนตลาคมถงพฤศจกายนและ ฤดฝนชวงเดอนเมษายนถงกรกฎาคม โดยในฤดหนาวผวของหมวกเหดจะตกสะเกดกระจายไปทวหมวกดอก แตชวงฤดฝนผว ของหมวกเหดและสะเกดสนำตาลจะเรยบไมแตก สวนกานดอกมทงกานสนและยาว พนธทกานดอกสนยาวเฉลย 1.0 - 2.0 เซนตเมตร พนธทกานดอกยาวจะยาวเฉลย 3.0 - 3.5 เซนตเมตร สของหมวกดอกปกตเปนสนำตาล มบางพนธ เปนสขาวปน นำตาล บางพนธเปนสเหลองนำตาล และเมอเหดบดยงมขนาดเลกแสดงวาดอกเหดอาย ประมาณ 1 วน แตถาดอกมขนาดใหญ แสดงวาดอกเหดออกมาแลวประมาณ 2 - 3 วน โดยเหดบดทพบทงในประเทศไทย และทสาธารณรฐประชาธปไตยประชาชน ลาวมความคลายคลงกน
บทคัดย่อ (EN): Surveying the mushroom (Lentinuspolychrous Lev.) in Nakhon Phanom province Thailand and Kwaeng KamMuan Laos during April to November 2010. It was found that there were 13 varieties in Nakhon Phanom and 10 varieties in KwaengKamMuan by found in Muang district, Tha U Ten district, Pla Pak district, Renunakhon district, Hin Boon city, ThaKhaek city, Yomarat city, Mahachaicity and Nagai city. There were different in each variety about cap, gills, scales, stalk, color, and size of mushroom but the characteristic of fiberhave white color similarly. Cap of these varieties was diameter between 4.0 - 14.5 cm. Cap of some variety was thick some variety was thin. Amount of gill was about 85 - 730 gills, length of gill was 2.0-10.0 cm. The young gills were creamy white color but the old gills were dark brown. Dry weight of the mushroom was 2.0 – 15.0 g. Wet weight was about 5.0 – 35.0 g. Scales on cap of the mushroom were different during coldseason (October - November) and rainy season (April-July) by in cold season skin of cap was scabbed and scatter but in rainy season the skin was smooth. The stalks had both short and long. Some varieties had short stalk average was 1.0-2.0 cm. Some varieties had long average was 3.0-3.5 cm. The color of caps were mainly brown some caps white-brown. Some caps were yellow-brown. When the mushroom have small size, it was young about 1 day but when it grew to big size, it was about 2 or 3 days after primordial of mushroom. However Thailand or Laos varieties were similarly also.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนครพนม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาของเห็ดบด (Lentinus polychrous. Lev.) ในพื้นที่จังหวัดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
มหาวิทยาลัยนครพนม
30 กันยายน 2553
เอกสารแนบ 1
การใช้เทคโนโลยีการเพาะเห็ดสู่ชุมชนในจังหวัดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเพิ่มสมรรถนะการผลิตเห็ดกระด้าง (Lentinus polychrous. Lev.)เป็น อาชีพในพื้นที่ชุมชนของจังหวัดนครพนม และแขวงคำม่วน สปปล. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก การศึกษาการเพาะเห็ดฟาง โดยใช้ก้อนเชื้อเห็ดที่ทิ้งแล้ว การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด การเปรียบเทียบการเพาะเห็ดนางฟ้าด้วยฟางข้าวแห้งและก้อนเชื้อเห็ดเก่า การศึกษาความหลากหลายของเห็ดในอุทยานแห่งชาติพุเตยและฤทธิ์ของสารสกัดจากเส้นใยเห็ดในการต้านจุลินทรีย์ก่อโรค การวิจัยและพัฒนาการเพาะเห็ดสมุนไพรเพื่อเป็นวัตถุดิบที่มีมาตรฐานสำหรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากเห็ด เปปไทด์ที่มีฤทธิ์ยับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ทิงเอนไซม์จากเห็ดบด การศึกษานิเวศวิทยาของหนอนเจาะต้นกาแฟ Xylotrechus Quadripes Chevrolat (Coleoptera : Cerambycidae) ในภาคเหนือของประเทศไทย I. รูปร่างลักษณะและชีววิทยาของแมลง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก