สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของลูกแป้งสำหรับทำข้าวหมาก
อังคณา เชวงภูษิต, จารุณี มีจุ้ย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของลูกแป้งสำหรับทำข้าวหมาก
ชื่อเรื่อง (EN): Studies on appropriate condition of Lukpang for Kaomak making
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทำลูกแป้งข้าวหมาก โดยทำการศึกษาชนิดของแป้งและธัญพืช ชนิดและความเข้มข้นของเครื่องเทศ พีเอชที่เหมาะสมของระยะพักตัว ระยะเวลาในการบ่มลูกแป้งพบว่า ชนิดแป้งสำเร็จรูป 3 ชนิด คือ แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว และแป้งถั่วเขียว เมล็ดข้าวบดละเีอียด 3 ชนิดคือ ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว และข้าวสาลี นำมาทำลูกแป้งจะให้ข้าวหมากที่มี ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด แอลกอฮอล์ และกรดทั้งหมด (ในรูปกรดแลคติค) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ส่วนการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสพบว่า ลูกแป้งที่ทำจากแป้งสำเร็จรูปให้ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<=0.05)ในการทำลูกแป้งโดยใช้เครื่องเทศ 5 ชนิด ได้แก่้ กระเทียม ขิง ชะเอม ดีปลี และพริกไทย ทดสอบการเจริญกับเชื้อรา Amylomyces rouxii และเชื้อยีสต์ 2 ชนิดได้แก่ Hansenula anomala , Saccharomyces cerevisiae พบว่า ที่ความเข้มข้น 1 % ขึ้นไปมีผลทำให้การเจริญของเชื้อทั้ง 3 ลดลง การศึกษาพีเอชที่เหมาะสมในระยะพักตัวของเชื้อรา A.rouxii ที่แยกได้จากลูกแป้งบรูไนและอินโดนีเซียพบว่าที่ pH 4.5-6.7 เชื้อรา A.rouxii สามารถเจริญได้ดีระยะเวลาที่เหมาะสมในการปมลูกแป้งพบว่า การบ่มช่วง 12-24 ชั่วโมงจะทำให้คุณภาพทางเคมีและประสาทสัมผัสแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p<=0.05)
เอกสารแนบ: http://dcms.thailis.or.th/dcms/dccheck.php?Int_code=44&RecId=486&obj_id=1453
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทำลูกแป้งข้าวหมาก โดยทำการศึกษาชนิดของแป้งและธัญพืช ชนิดและความเข้มข้นของเครื่องเทศ พีเอชที่เหมาะสมของระยะพักตัว ระยะเวลาในการบ่มลูกแป้งพบว่า ชนิดแป้งสำเร็จรูป 3 ชนิด คือ แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว และแป้งถั่วเขียว เมล็ดข้าวบดละเีอียด 3 ชนิดคือ ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว และข้าวสาลี นำมาทำลูกแป้งจะให้ข้าวหมากที่มี ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด แอลกอฮอล์ และกรดทั้งหมด (ในรูปกรดแลคติค) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ส่วนการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสพบว่า ลูกแป้งที่ทำจากแป้งสำเร็จรูปให้ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของลูกแป้งสำหรับทำข้าวหมาก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
เอกสารแนบ 1
ความเหมาะสมของแป้งข้าวสาลีไทยในการทำเต้าเจี้ยวและซีอิ๊ว การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเคลือบสารต่างๆ ด้วยวิธีปัตเตอริง สภาวะการทำประมงและประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหมึกในน่านน้ำไทย การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการทอดปลานิลโดยใช้เครื่องทอดสุญญากาศ สภาวะที่เหมาะสมเพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงเขียวเสวยตัดแต่งพร้อมบริโภค การศึกษาสูตรและอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับสับปะรดในจังหวัดลำปาง การศึกษาระบบเขตกรรมที่เหมาะสมสำหรับการปลูกฟักทอง การศึกษาการทำเครื่องประดับลูกปัดเซรามิก สำหรับวิสาหกิจชุมชน การศึกษาพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมในการทำไม้ถัก การหาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งต่อการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระในชาสมุนไพรจากบัวหลวง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก