สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาโครงสร้างทางอณูวิทยาของ Complementary DNA (cDNA) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของยีน Anti-lipopolysaccharide factor ในกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii de Man)
นนทวิทย์ อารีย์ชน - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาโครงสร้างทางอณูวิทยาของ Complementary DNA (cDNA) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของยีน Anti-lipopolysaccharide factor ในกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii de Man)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นนทวิทย์ อารีย์ชน
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาในครั้งนี้จะมุ้งเน้นในการศึกษาโครงสร้างทางอณูวิทยาและวิวัฒนาการของยีน Anti-lipopolysaccharide factor รวมทั้งการตอบสนองต่อสารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน beta-glucan และแบคทีเรียก่อโรคชนิด Aeromonas hydrophila ซึ่งข้อมูลพื้นฐานจากการวิจัยในครั้งนี้นอกจากจะทำให้เราเข้าใจกลไกการทำงานของยีน ALF ในระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งก้ามกรามแล้ว ความรู้ดังกล่าวจะเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะหาแนวทาง โดยเฉพาะการใช้ความรู้ทางอณูวิทยาภูมิคุ้มกันมาประยุกต์ใช้เพื่อการป้องกันและรักษาโรคที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของไทยสามารถดำเนินต่อไป สร้างรายได้แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงและประเทศชาติได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในอนาคต ไฟล์แนบ ProposalObjective-Statusโครงการวิจัยเสร็จสิ้นExpected BenefitPrimary Result : 1) สามารถทราบถึงลำดับนิวคลีโอไทด์และกรดอะมิโนของยีน ALF ของกุ้งก้ามกราม จากข้อมูลของ Complementary DNA รวมทั้งเข้าใจถึงกลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของกุ้งก้ามกรามทั้งในสภาพที่มีการกระตุ้นด้วยเชื้อโรคและสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันด้วย 2) การนำประโยชน์จาก ลำดับนิวคลีโอไทด์ของ cDNA ที่ได้ไปใช้โดยผนวกเข้ากับความรู้ทางอณูชีววิทยาขั้นสูง ไปผลิตโปรตีนของยีน ALF ที่มีความสำคัญต่อระบบภูมิคุ้มกัน เพื่อเสริมสร้างสุขภาพของกุ้งก้ามกรามในการเลี้ยงและอนุบาลให้มีสุขภาพแข็งแรงและสามารถต้านทานโรคชนิดต่าง ๆ ได้โดยตรงในอนาคต 3) ผลงานวิจัยที่ได้ในครั้งนี้จะสามารถตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ในหมวดที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำที่มีค่า Impact factor เช่น - Gene, Fish and Shellfish Immunology - Marine Biotechnology หรือ Molecular Immunology - Immunogenetics หรือ Aquaculture เป็นต้น
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาโครงสร้างทางอณูวิทยาของ Complementary DNA (cDNA) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของยีน Anti-lipopolysaccharide factor ในกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii de Man)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2553
คุณลักษณะของ Complementary DNAs (cDNAs) และการตอบสนองต่อการเกิดความเครียดของยีน Heat Shock Protein 40, 90 และ Glucose Regulated Protein 78 ในกุ้งก้ามกราม อิทธิพลของสารยับยั้งแบคทีเรียต่อลักษณะเชิงคุณภาพของกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii de Man) หักหัวแช่น้ำแข็ง การศึกษาจุลินทรีย์โปรไบโอติกจากบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii de Man) ในจังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษาและพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ไคโตซานจากเปลือกกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ในจังหวัดกาฬสินธุ์ การอนุบาลลูกกุ้งก้ามกราม Macrobrachium rosenbergii (de Man, 1879)ในน้ำทะเลสังเคราะห์ การขนส่งกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) มีชีวิตโดยใช้วัสดุมีความชื้น การวิจัยและพัฒนาสูตรอาหารผสม กรดไขมันอะราชิโดนิคสำหรับแม่พันธุ์กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii (De Man)) ผลของความเข้มแสง และช่วงแสง ต่อการอนุบาลลูกกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergiide Man) การศึกษาโครงสร้างอณูวิทยาของ Complementary DNAs (cDNAs) และการแสดงออกของยีน Caspase-3 และ Granzyme ในปลานิล การศึกษาการแพร่กระจายเชื้อไวรัส Macrobrachium rosenbergii Nodavirus (MrNV) ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งก้ามกรามจังหวัดชลบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก