สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนายาสมุนไพรเพื่อสุขภาพจากตำรับยาสมุนไพรของชาวไทยใหญ่และ ชาวเขาชนเผ่าต่างๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ - กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชื่อเรื่อง: การพัฒนายาสมุนไพรเพื่อสุขภาพจากตำรับยาสมุนไพรของชาวไทยใหญ่และ ชาวเขาชนเผ่าต่างๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Herbal Medicines from Medicinal Recipes of Thai Yai and Hill Tribes in Mae Hong Son, Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: คณะวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คำสำคัญ: สมุนไพร
คำสำคัญ (EN): Development
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้เป็นการรวบรวมองค์ความรู้จากภูมิปัญญาของชาวไทยใหญ่ที่อาศัยอยู่ในเขต อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยจะมีการรวบรวมตำรับยาสมุนไพรที่ถือว่าเป็นภูมิปัญญาที่ผ่านการรักษา ในคนแล้วได้ผล และมีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์และได้ใช้สืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน จากการวิจัย พบว่า สามารถรวบรวมตำรับยาได้ทั้งสิ้น 1,002 ตารับ และเมื่อจัดกลุ่มของตำรับยาตามการรักษาจะสามารถแบ่งได้ถึง 15 กลุ่ม โดยตำรับยาสมุนไพรที่รวบรวมได้สูงสุดเป็น 5 อันดับแรก คือ กลุ่มตำรับยาที่สามารถใช้สาหรับรักษาโรคในระบบไหลเวียนโลหิต (โรคลม) จานวน 341 ตำรับ กลุ่มตำรับยารักษาโรคในระบบทางเดินอาหาร จานวน 194 ตำรับ กลุ่มตำรับยารักษาโรคในระบบผิวหนังและการอักเสบบริเวณเยื่อบุผิว จานวน 165 ตำรับ กลุ่มตำรับยารักษาอาการไข้หวัดและไอ จานวน 148 ตำรับ และกลุ่มตำรับยาที่สามารถรักษาโรคมะเร็ง จานวน 119 ตำรับ ตามลำดับ จากการรวบรวมตำรับยาสมุนไพรของชาวไทยใหญ่นี้จะทำให้ง่ายต่อการสืบค้นข้อมูล เพื่อที่จะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเป็นยาสมุนไพรได้ อีกทั้งยังสามารถรักษาภูมิปัญญา การรักษาของชาวไทใหญ่ให้คงอยู่ต่อไปได้อีกด้วย
บทคัดย่อ (EN): This study was the collection of the Thai Yai folklore wisdom who lived in Muang, Mae Hong Son Province. The collected Thai Yai medicinal recipes have been passed for the clinical trial, and recorded for long time ago. It was found that 1,002 medicinal recipes have been collected, and it could be classified to 15 groups. The 5 highest number of medicinal recipes was falling sickness, 341 recipes of blood circulation system (epilepsy); 194 recipes of gastrointestinal tract disease; 165 recipes of skin disease and epithelial inflammation; 148 recipe of fever, cold and cough; and 119 recipes of anti-cancers, respectively. It has been suggested that the collection of the Thai Yai folklore wisdom will be beneficial to search for development of medicinal products, and also conserve the Thai Yai medicinal folklore wisdom.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
ชื่อแหล่งทุน: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: http://ttdkl.dtam.moph.go.th/Module7/frmc_home_research_show.aspx?r_id=NDYw
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
เผยแพร่โดย: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนายาสมุนไพรเพื่อสุขภาพจากตำรับยาสมุนไพรของชาวไทยใหญ่และ ชาวเขาชนเผ่าต่างๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล- โครงการ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล: โครงการ การพัฒนาตำรับน้ำยาบ้วนปากสมุนไพรเพื่อป้องกันฟันผุ การศึกษามาตรฐาน ฤทธิ์ทางชีวภาพ และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดตำรับ ยาสมุนไพรเพื่อใช้เป็นยารักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากตำรับสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อรักษาแผลเบาหวานของ หมอกิตติ นาคูณ เวชสำอางสมุนไพร มิติใหม่ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากสมุนไพรไทยบางชนิดในการกำจัดหอยเชอร์รี่ การพัฒนาระบบสารสนเทศหมอสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดชัยภูมิ ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ การพัฒนาป่านิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูฐานทรัพยากรสมุนไพรอย่างยั่งยืน การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยเพื่อยืดอายุการเก็บของชิ้นส่วนตัดแต่งเนื้อสัตว์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก