สืบค้นงานวิจัย
การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี
อาภาพรรณ สัตยาวิบูล - มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ชื่อเรื่อง: การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): Monitoring of Atmospheric Polycyclic Aromatic Hydrocarbons Using Leaves in Nontaburi Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อาภาพรรณ สัตยาวิบูล
คำสำคัญ: สาร
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกมาวิจัยในเรื่องการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อบริหาร จัดการทรัพยากรในพื้นที่ ส่วนขยายของเมือง จังหวัดนนทบุรี ซึ่งมีวัดถุประสงค์เพื่อทบทวน รวบรวมและเผขแพร่แนวทาง การสร้างมูลค่าเพิ่มและแนวทางการใช้ประไชชน์จากทรัพยากรให้เกิดประไยชน์สูงสุด ไดยแบ่ง ทรัพยากรที่ทำการศึกษาเป็น 4 ทรัพยากร ดังนี้คือ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากร ชุมชน และทรัพยากรการใช้ประไยชน์ของมนุษย์ ซึ่งพบว่า ทรัพยากรชีวภาพของ งพื้นที่ที่สึกษา คือ การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำและความหลาก ชนิดของไปรใตซัวในแม่น้ำเจ้าพระขา พบว่ คุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระขา ตั้งแต่บริเวณสะพาน พระรามเจ็ดถึงวัดเชิงเลนทำการเก็บตัวอย่าง 2 ช่วงฤดู คือฤดูแล้ง (เดือนมึนาคม 2551-เมบายน 2551) และฤดูฝน (เดือนมิถุนายน 255 1-กรกฏ าคม 2551) ผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำจัดเป็นแหล่ง น้ำประเภทที่ 3 ตามมาตรฐาบคุณภาพน้ำผิวดิน ส่วนเกณฑ์คุณภาพน้ำตามระบU Saprobic Systcm ของ Kolkwitz และ Mansson ที่จัดแบ่งคุณภาพน้ำตามค่บีไอดี พบว่า คุณภาพน้ำเป็นแบบ Mesosaprobic 20nc ซึ่งเป็นเขตน้ำเสื่อมสภาพปานกลาง ความหลากชนิดของไปรไตชัวทั้ง 2 ฤดู พบทั้งหมด 6 class SI specics ในฤดูแล้งพบ 4 Class 34 specics น้อขกว่าในฤดูฝน 6 Class 47 specics และการศึกษาการเพิ่มประชากรของหิ่งห้อยในแหล่งอาศัชธรรมชาติ พบว่า หิ่งห้อยเพศเมียวางไข่ 60.6*13.8 ฟอง (#=60) ใช้ระยะฟักออกจากไข่ประมาณ 8-12 วัน ไดขมีอัตราการก รร.5เปอร์เซ็นต์ รวมทั้งสามารถพัฒนาเข้าสู่ระยะหนอนได้ ไดขมีอัตรารอตในระยะหนอน 18 เปอร์เซ็นต์ สำหรับ ตักแค้ที่จะพัฒนาไปเป็นตัวเต็มวันั้นมีอัตรารอด 1.4 เปอร์เซ็นด์ ทรัพยากรกายภาพในพื้นที่ที่ศึกษา คือ การศึกษาคุณภาพน้ำและแนวทางการ จัดการน้ำ อย่างยั่งยืน พบว่า ธูปฤาษีสามารถบำบัดน้ำเสียจากชุมชนได้ดี ความเข้มขันของน้ำเสียที่ทำให้ ธูปฤาษีเจริญเดิบใดได้ตี่ที่สุด คือ ความเข้มข้นร้อยละ 25 และระขะปลูกที่ดีที่สุด คือ 30x30 และ 35x35 เซบดิมตร ธูปฤาษีจะมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียไห้ดีที่สุดในวันที่ 45 ซึ่งสามารถ บำบัดน้ำเสียที่มีปริมาณต่ำปีไอดี ร้อยละ 58.33 และปริมาณคาร์บอนทั้งหมด ร้อยละ 58.53 ปริมาณ นตรเจนทั้งหมด ร้อยละ 39.70 และปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด ร้อยละ 61.58 สามารถนำวิชีการบำบัดนี้ไปประยุกต์ใช้กับการบำบัดน้ำเสียในจังหวัดนนทบุรีซึ่งเป็นเมืองที่อยู่อาศัยชั้นดี ที่มีหมู่บ้านจัดสรรเป็นจำนวนมากโดยสามารถปลูกในแปลงทดลอง และควรมีการตัดแต่งไม่ให้ มีการออกดอกในวันที่ 90 ส่วนการศึกษาความเหมาะสมของสื่อประชาสัมพันธ์ที่ใช้ในการเผยแพร่ งานวิจัยดังกล่าว โดยจำแนกการศึกษาออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ สีส้น ความงาม, ภาษาที่ใช้, ข้อมูล ที่ได้รับ, ปริมาณของข้อมูลที่ด้รับ และความเข้าใจง่ายของสื่อ พบว่ามีระดับความคิดเห็นว่า เหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ที่สูงทั้งหมด และการติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพไซลิกอะโรมาติก- ไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนน โดยใช้ใบไม้ พบว่า การกระจายตัวตามความเข้มข้นของสาร PAH ทั้ง 16 ชนิด บริเวณอำเภอเมือง ส่วนใหญ่มีค่าความเข้มข้นอยู่ในระดับต่ำสุด (Class 1) เนื่องจาก ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำการเกษตรกรรม ทำให้มีปริมาณการจราจรหนาแน่นน้อย และค่าความเข้มข้น ร ะดับสูงสุด (Class 5) อยู่บริเวณหน้ากระทรวงพาณิชย์ ถนนสนามบินน้ำ และถนนติวานบท์ เนื่องจากมีการจราจรหนาแน่น และมีการสะสมของปริมาณการจราจรสูง ประกอบกับการขยายตัว ของเมืองที่มีการตั้งถิ่นฐานหนาแน่นมาก ทรัพยากรชุมชนในพื้นที่ที่ศึกษา คือ แนวทางการมีส่วนร่วมและการประยุกด์ใช้ แบบจำลองในการจัดการสิ่งแวดล้อม พบว่า พฤติกรรมการมีส่วนร่วมส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับที่ใช้ได้ เพราะเป็นชุมชนที่ได้รับการพัฒนาและตั้งถิ่บฐานมานาน จึงก่อให้เกิดการสร้างแบบจำลองโดขนำองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยถ่ายทอดผ่านสื่อ ได้แก่ ถุงขยะ ถังขยะ ป้าขประชาสัมพันธ์ และแผ่นพับเพื่อนำไปให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ซึ่งพบว่า แบบจำลองการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนมีคุณภาพที่ยอมรับได้ ในค่าความตรง ความเชื่อมั่น 0.86 ค่าอำนาจจำแนก 0.34 ค่าความยากงง่ย 0.61 และความเป็น ปรนัย และมีประสิทธิภาพให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 77.16/88.78 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และได้ทำการศึกษาความเหมาะสมของสื่อประชาสัมพับธ์ที่ใช้ในการเผขแพร่งานวิจัชดังกล่าวโดยจำแนกการศึกษาออกเป็น ร ด้าน ได้แก่ สีสัน ความงาม, ภายาที่ใช้, ข้อมูลที่ได้รับ, ปริมาณของข้อมูลที่ด้รับ และความเข้าใจง่ายของสื่อ พบว่า มีระดับความคิดเห็น อยู่ในเกณฑ์ที่สูงทั้งหมด และเมื่อพิจารณาถึงประเภทของสื่อทั้ง 3 ด้านที่ใช้ ได้แก่ ไปสเตอร์, แผ่นพับ และการนำเสนอด้วย Power point พบว่า มีระดับความคิดเห็นว่าเหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ที่สูง ทั้งหมด ทรัพยากรการใช้ประ ไยชน์ของมนุษข์ในพื้นที่ ที่ทำการศึกษา คือ การศึกษาปริมาณ จำแนกประเภท และแนวทางการจัดการมูลฝอยอันตรายจากบ้านเรือน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยก และการเก็บรวบรวม มูลฝอยอันตรายจากบ้านเรือน แต่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องเกี่ยวกับการกำจัดมูลฝอยอันตรายมากกว่าเพศชาย และพบว่า ก่อนและหลังการเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ <0ร จากการสอบถามเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยอันตรายจากบ้านเรือน ในชุมชน พบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วขว่าสมาชิกในครอบครัว มีความร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอย อันตรายมากที่สุด และเห็นด้วยว่าได้รับข้อมูลในการกำจัดมูลฝอยอันตรายตามที่ต้องการน้อยที่สุด การ จัดกิจกรรมเผขแพร่ความรู้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยว่าเป็นกิจกรรมที่มีประ โยชน์มากที่สุด รองลงมาคือสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางตะไนย์ แสดงความเห็นว่าปัญหาและอุปสรรคในการจัดการมูลฝอขอันตรายในปัจจุบัน คือเจ้าหน้าที่จัดการ ไม่ถูกวิธีเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจ และงบประมาณไม่เพียงพอ และเสนอแนะแนวทาง การแก้ปัญหาโดยใช้การประชาสัมพันธ์ และปลูกจิตสำนึกให้เจ้าหน้าที่ และประชาชน และ การศึกษาระบบสารสนเทศสำหรับโครงการวิจัยพื้นที่จังหวัดนนทบุรี พบว่า การออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต โดยสถาปัตยกรรมของระบบประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนฐานข้อมูล และส่วนติดต่อ ผู้ใช้งาน ในส่วนของฐานข้อมูลออกแบบด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป MS Accรs มีฐานข้อมูลที่สามารถ รองรับ ข้อมูลสิ่งแวดล้อมทางด้นกายภาพได้แก่ กุณภาพอากาศ และคุณภาพน้ำ และทรัพยากร ชีวภาพได้แก่ พรรณไม้ และ โปร โตชัวในส่วนการติดต่อผู้ใช้พัฒนาขึ้บด้วยภาบา ASP (Active Service Pages)ซึ่งระบบถูกออกแบบให้ผู้ใช้งนสามารถ เพิ่ม คั่นหา แก้ไข และลบข้อมูลได้ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ด นอกจากนั้นระบบสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อม เข้ากับฐานข้อมูลแผนที่ของ maps google.com โดยแสดงผลในรูปแบบราชงานข้อมูลคุณลักษณะ ที่มีการอ้างอิงพิกัดภูมิศาสตร์ได้
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
30 กันยายน 2551
การสะสมของสารโพลิไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (พีเอเอช) ในหอยแมลงภู่ตามแนวชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก การคัดเลือกและพัฒนาโพรไบโอติกเพื่อใช้เป็นสารควบคุมชีวภาพและสารเสริมอาหารในการเพาะเลี้ยงกุ้ง การพัฒนาวิธีการตรวจสอบสารพิษตกค้างทางการเกษตรโดยใช้สารเรืองแสง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สารอินทรีย์เพื่อลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกรจังหวัดสระแก้ว วิธีการใช้สารเคมีในการรักษาโรครากขาวของยางพารา การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารสำคัญกลุ่มไม่มีขั้วและกลุ่มมีขั้วจากเมล็ดข้าวสีเพื่อเตรียมเป็นสารสกัดมาตรฐานโดยใช้ฤทธิ์ชีวภาพเป็น ตัวชี้นำ การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารสำคัญกลุ่มไม่มีขั้วและกลุ่มมีขั้วจากเมล็ดข้าวสีเพื่อเตรียมเป็นสารสกัดมาตรฐานโดยใช้ฤทธิ์ชีวภาพเป็น ตัวชี้นำ การศึกษาผลต่อการดูดซึมสารอาหารไขมันของสารโพลีแซคคาไรด์จากเปลือกผลทุเรียนในหลอดทดลอง การใช้สารกลุ่มปลอดภัยในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของผลมะม่วง การศึกษาผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับสารเร่งซุปเปอร์ พด. เพื่อลดการใช้สารเคมี ในการปลูกมะเขือเทศ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก