สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมของชุมชนรอบบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ
อนุพงษ์ สนิทชน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมของชุมชนรอบบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ
ชื่อเรื่อง (EN): Participatory Rural Appraisals (PRA) of Communities around Bueng Kong Long, Nong Khai Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อนุพงษ์ สนิทชน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรประมงใน บึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพเชิงเศรษฐกิจสังคมของชุมชน บทบาทหญิงชายใน กิจกรรมต่างๆ การจัดล้าดับฐานะเศรษฐกิจของคนในชุมชน การท้าการประมง ล้าดับความส้าคัญของปัญหา และความต้องการพัฒนาอาชีพของชุมชน ท้าการศึกษาจากหมู่บ้านตัวแทน จ้านวน 12 หมู่บ้าน ในระหว่างเดือน ตุลาคม 2552 ถึงเดือนกันยายน 2553 โดยการประชุมปรึกษาหารือร่วมกับชุมชน จัดท้าแผนที่ชุมชน แผนที่ ทรัพยากร ล้าดับเหตุการณ์ส้าคัญตามช่วงเวลา ปฏิทินฤดูกาล และการประชุมเพื่อตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางแก้ไข ผลการศึกษาพบว่า บริเวณหมู่บ้านตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง มีลักษณะพื นที่คล้ายๆกัน คือ เป็นพื นที่ราบ พื นที่ส่วนใหญ่ถูกใช้เพื่อท้านา สวนยางพารา สวนยูคาลิปตัส ไร่มันส้าปะหลัง ทั งนี การตั งชื่อ หมู่บ้าน มีที่มาตามลักษณะเด่นของภูมิประเทศ มีประเพณีและวิถีชีวิตคล้ายคลึงกัน การประกอบอาชีพในชุมชน บึงโขงหลง ประกอบด้วย อาชีพท้านา ท้าสวนยางพารา ท้าไร่มันส้าปะหลัง ท้าประมง หัตถกรรม เลี ยงสัตว์ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย และรับราชการ พบเพศชายมีบทบาทในกิจกรรมที่ต้องใช้แรงงานเป็นหลัก และเพศหญิง มีบทบาทมากที่สุด ในกิจกรรมการเก็บเงินที่ได้จากการขายผลผลิตต่างๆ ระดับฐานะของครัวเรือนตัวอย่าง บริเวณบึงโขงหลงส่วนใหญ่มีฐานะปานกลาง ทุกหมู่บ้านมีการประกอบอาชีพประมง ทั งเป็นอาชีพหลัก และ อาชีพรอง มีการใช้เครื่องมือประมงในบึงโขงหลง 18 ชนิด โดยพบว่า ข่าย เป็นเครื่องมือประมงที่ชาวประมงนิยม ใช้มากที่สุด ปัญหาทางด้านประมงที่ส้าคัญคือ ปัญหาทรัพยากรประมงลดลง ปัญหาการจับสัตว์น ้าแบบ ผิดกฎหมาย และปัญหาความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ ส่วนปัญหาที่ส้าคัญในชุมชน คือ ปัญหาระบบ สาธารณูปโภค และปัญหาจ้านวนปลาลดลง อาชีพและกิจกรรมที่ชุมชนต้องการพัฒนามากที่สุด คือ การท้าปุ๋ย อินทรีย์และน ้าหมักชีวภาพ เนื่องจากทุกหมู่บ้านท้าการเกษตร มีสวนยางพารา จึงมีความต้องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และน ้าหมักชีวภาพค่อนข้างสูง
บทคัดย่อ (EN): A study on Participatory Rural Appraisals (PRA) in Bueng Khong Long, Bueng Kan province was aimed to investigated the present status of surrounding communities on socioeconomics aspects, fisheries activity, gender roles, ranking of the socio-economic, ranking of problems and occupation development needs. Total sampling of 12 villages were conducted during October 2009 to September 2010. Data was collcted by group consultative meeting, social and resources mapping, historical timeline, seasonal calendar and focus group. The results showed that all sampling communities at upstream middle and downstream zone were located in the plain area. Almost all villager occupation were rice field, rubber, eucalyptus and cassava planting. Community was named related to their geographic features. Traditional activities at all sample communities are similar. The occupation is rice farming, rubber agro forestry, cassava, fisher, woven mats, livestock, general contractor, trade and government official. Gender roles found that male were acting on main labor and female were collected their family money. Most household status are moderate. Fisher was found at all sample communities which using 18 kinds of fishing gear. Fish gillnet was the most popular used at 5 all study sites. Communities’s fisheries problems were declining of fisheries resources, illegal fisheries, ecosystem degradation and infrastructure system. Occupation development was organic fertilizer and fermented plant juices making.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมของชุมชนรอบบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ
กรมประมง
30 กันยายน 2554
กรมประมง
การกระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วมตามแนวเศรษฐกิจชุมชนของกลุ่มอาชีพ ในตำบลโคกโคเฒ่า อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี กระบวนการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนลุ่มน้ำชีกับภาครัฐต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในท้องถิ่น : กรณีศึกษาชุมชนบ้านท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม รายงานฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ต.คลองพลู อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษจากต้น เปลือก และซังข้าวโพด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โครงการวิจัยเพื่อการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ แนวทางการลดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดเกษตรกรผู้ปลูกพริกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านดงยาง ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี การสร้างเอนไซม์ไบโอเซนเซอร์สำหรับการประเมินการเน่าเสียของเนื้อสัตว์. ตัวชี้วัดและการจัดกลุ่มหมู่บ้านชนบท เพื่อความเหมาะสมในการทำการเกษตรอินทรีย์ รายงานการวิจัยเรื่องการประเมินศักยภาพพืชพลังงาน 7 สายพันธุ์เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ ตัวชี้วัดและการจัดกลุ่มหมู่บ้านชนบทเพื่อความเหมาะสมในการจัดฝึกอบรมโครงการเกษตร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก