สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเมล็ดขนุน
ธีรวรรณ สุวรรณ์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเมล็ดขนุน
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Jackfruit Seed Cracker
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธีรวรรณ สุวรรณ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สุกัญญา วงวาท
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ได้นำเมล็ดขนุนที่ผ่านการต้มแล้วมาเป็นส่วนประกอบในข้าวเกรียบได้ เพื่อเพิ่ม มูลค่าให้กับเมล็ดขนุนซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้ โดยได้ศึกษาสูตรและกระบวนการผลิตที่เหมาะสมในการ ผลิตข้าวเกรียบเมล็ดขนุน จากการทดลองพบว่าสูตรที่เหมาะสมในการผลิตข้าวเกรียบเมล็ดขนุน คือ แป้งมันส่ำปะหลังร้อยละ 33.63 เมล็ดขนุนร้อยละ 30.00 พริกไทยร้อยละ 1.62 กระเทียมร้อยละ 3.25 น้ำตาลทรายร้อยละ 4.88 เกลือร้อยละ 1.62 และน้ำอุ่นร้อยละ 25.00 กระบวนการผลิตที่ หมาะสมในการผลิตข้าวเกรียบเมล็ดขนุน คือ ระยะเวลาในการนึ่ง 45 นาที ระยะเวลาในการแช่เย็น 12 ชั่วโมงและระยะเวลาในการอบแห้ง 5 ชั่วโมง และสภาวะที่เหมาะสมในการทอดข้าวเกรียบคือ อุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 5 วินาที ข้าวเกรียบเมล็ดขนุนที่ได้ทำการพัฒนามีค่า Hardness 5.29 ฐ.sec และมีค่า Crispness 89.67 N และผลิตภัณฑ์มีสีเหลืองอ่อน มีการพองตัว 4 เท่า และในส่วนของค่วอเตอร์แอคติวิตี้พบว่ามีเพียง 0.31 1 ซึ่งส่งผลให้ไม่พบจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ เนื่องจากเป็นสภาวะที่จุลินทรีย์ไม่สามารถจริญเติบโต และในส่วนขององค์ประกอบทางเคมีพบว่า ผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเมล็ดขนุนมีปริมาณความชื้นร้อยละ 3.29 ปริมาณโปรตีนร้อยละ 1.14 ปริมาณ ไขมันร้อยละ 24.93 ปริมาณถ้าร้อยละ 14.30 และมีปริมาณคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 56.34 และพบว่า ผู้บริโภคร้อยละ 99 ให้ยอมรับในผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเมล็ตขนุน ทั้งนี้ข้าวเกรียบเมล็ดขนุนที่เก็บใน ถุงร้อนจะสามารถเก็บได้เพียง : สัปตาห์ในขณะที่ข้าวเกรียบเมล็ดขนุนที่เก็บในถุงอะลูมิเนียมฟอยด์ จะเก็บได้ 12 สัปดาห์
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเมล็ดขนุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
30 กันยายน 2554
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบว่าว การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบปลาปรุงรส การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบผักจากแป้งข้าวเสริมแคลเซียมจากกระดูกปลา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น จังหวัดตาก : ยำข้าวเกรียบงาดำพร้อมบริโภค การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบ ข้าวแต๋น และข้าวเม่า การสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงจากเส้นใยไหมป่า การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตข้าวของชุมชน ตำบลเบิกไพร จังหวัดราชบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านชายแดนใต้ : หัวข้าวเกรียบ (ปาลอกรือโป๊ะ) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบปลาเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและสารต้านอนุมูลอิสระ (ปีที่ 2) การใช้ประโยชน์จากฟลาวเมล็ดขนุนในผลิตภัณฑ์ขนมอบ: กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์คุกกี้และขนมปังหวาน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก