สืบค้นงานวิจัย
ลักษณะทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทาน ต่อเชื้อรา Phytophthora
พเยาว์ ศรีสอ้าน - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: ลักษณะทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทาน ต่อเชื้อรา Phytophthora
ชื่อเรื่อง (EN): Physiological and Biochemical Change in Relation to Phytophthora Resistance
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พเยาว์ ศรีสอ้าน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบโปรตีนและไอโซไซม์ peroxidase ของพันธุ์ยาง 4 พันธุ์ ได้แก่ BPM 1 BPM 24 PR 255 และ RRIM 600 ก่อนและหลังการปลูกเชื้อ Phytophthora ไม่แสดงความแตกต่างกัน แต่กิจกรรมของเอนไซม์ peroxidase ของยางพันธุ์ PR 255 เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วภายหลังจากการปลูกเชื้อ 1 และ 2 วัน ตามลำดับ ในขณะที่พบการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมของเอนไซม์นี้ในยางพันธุ์อื่นๆ เพียงเล็กน้อย แต่การเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมเอนไซม์ peroxidase ที่พบ ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความต้านทานต่อเชื้อ Phytophthora ของพันธุ์ยางตามที่รายงานไว้ในคำแนะนำของสถาบันวิจัยยาง นอกจากนี้ยังพบว่ารูปแบบของโปรตีนและไอโซไซม์ peroxidase ของพันธุ์ยางแต่ละพันธุ์ที่แสดงความแตกต่างกันในระหว่างพันธุ์ ไม่มีส่วนใดมีความสัมพันธ์กับระดับความต้านทานโรคของพันธุ์ยางเลย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ลักษณะทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทาน ต่อเชื้อรา Phytophthora
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในยางพารา ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Corynespora ในยางพารา การแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความต้านทานต่อเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรครากขาวในยางพารา ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู การพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องกับความต้านทานโรคใบจุดก้างปลาของยางพารา Physiologic Races ของเชื้อรา Hemileia uastatrix B. & Br การศึกษาลักษณะทางสัณฐานและสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับลักษณะความต้านทานการหักล้มของข้าว ผลของสารพิษที่ผลิตโดยเชื้อรา Cercospora canescens จากถั่วเขียว ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก