สืบค้นงานวิจัย
การเพิ่มศักยภาพพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันเพื่อปลูกกล้วยไม้เชิงพาณิชย์
ณิชาพล แก้วชฎา - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การเพิ่มศักยภาพพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันเพื่อปลูกกล้วยไม้เชิงพาณิชย์
ชื่อเรื่อง (EN): Enhance of potential Palm Oil Area for the Commercial Orchid Culture
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ณิชาพล แก้วชฎา
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเพิ่มศักยภาพพื้นที่ส่วนปาร์มน้ำมันเพื่อปลูกกล้วยไม้เชิงพาณิชย์ เป็นการศึกษาการเจริญเติมโต จำนวนใบ จำนวนดอกของกล้วยไม้ และวัสดุรองปลูกใช้ปลูกกล้วยไม้บริเวณโคนกาบใบของต้นปาร์มน้ำมัน เพื่อเป้นแนวทางการพัฒนา และส่งเสริมกลุ่มเป้าหมายปลูกกล้วยไม้บริเวณโคนกาบใบของต้นปารืมน้ำมันเป็นพืชเศรษฐกิจ ดดยปลูกกล้วยไม้สกุลหวายที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อบริเวณโคนกาบใบต้นปาร์มน้ำมันที่ใช้กาบมะพร้าว ถ่านดำ เกสรปาร์มผู้เป็นวัสดุรองยึดเกาะ และ ไม่ใช้วัสดุรองยึดเกาะเลย พบว่าการทดลอง การเพิ่มจำนวนใบแตกตต่างกันอย่างมีนัยสำำคัญทางสถิติ (P>0.05) มีจำนวนใบบนวัสดุรองยึดเกาะจากเกสรปาร์มผู้ ถ่านดำ กาบใบมะพร้าว และไม่ใช้วัสดุยึดเกาะ ตามลำดับ ส่วนการเจริญเติบโต จำนวนช่อดอก และจำนวนดอกกล้วยไม้ที่ได้จากการปลูกบริเวณโคนกาบในต้นปาร์มน้ำมันแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05)
บทคัดย่อ (EN): The potential increase in palm oil plantations for commercial orchid growing. Was to study about the growth, the number of leaves and flowers of orchids,and The plant material used to grow orchids at the base of the palm leaves in order to be development quiddline and to promote the prospects of orchids leaf bases of palm oil crops for being economic plant.By growing Dendrobium planted at the base of the leaf tissue of the coconut palm, oil palm pollen, black charcoal, the binder material and the adhesion material. The results found that the of leaves increased were statistically significant different at (p<=0.05) and the number of leaves on the material surface of palm pollen,black carbon,coconut and material bond respectively. The number of growth,inflorescences,and flowers were planted around the base of the palm oil leaves were not significant different(P>0.05)
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-53-041
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพิ่มศักยภาพพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันเพื่อปลูกกล้วยไม้เชิงพาณิชย์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2553
การศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สมุนไพรบางชนิด ศึกษาศักยภาพด้านต้นทุนของกระบวนการจัดการธุรกิจปาล์มน้ำมันเพื่อความได้เปรียบทางการค้าของประเทศไทย การวิจัยและพัฒนาการหมักปุ๋ยจากวัสดุเหลือทิ้งในสวนปาล์มน้ำมัน การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินระหว่างการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันในพื้นที่ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร ผลของการอบรมเชิงปฏิบัติการต่อระดับความรู้ด้านการจัดการสวนปาล์มน้ำมันของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรจังหวัดพังงา การใช้เทคนิคออสโมติกในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สตรอเบอรีสูตรลดน้ำตาลที่ไม่เจือสีและไม่แต่งกลิ่นรส: แยมสตรอเบอรี ไส้ผลไม้จากสตรอเบอรี และสตรอเบอรีทอปปิ้ง และการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ ความสำคัญของการพัฒนาปาล์มน้ำมัน: เพื่อใช้ในการเพิ่มผลผลิตของพลังงานทดแทน ศักยภาพการให้ผลผลิตและการสร้างประชากรดูราและฟิสิเฟอราจากโคลน ปาล์มน้ำมัน ปาล์มน้ำมันลูกผสม Elaeis oleifera X Elaeis guineensis และ Elaeis oleifera การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในจังหวัดชุมพร พื้นไม้เชิงประกอบจากไม้ปาล์มน้ำมัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก