สืบค้นงานวิจัย
พัฒนาการวิเคราะห์โปรตีนในอาหาร
ไพโรจน์ วิริยจารี - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: พัฒนาการวิเคราะห์โปรตีนในอาหาร
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Food Protein Analysis
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ไพโรจน์ วิริยจารี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Pairote Wiriyacharee
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การหาปริมาณโปรตีนในอาหารนิยมใช้วิธีมาตรฐาน Kjeldahl ในการวิเคราะห์ แต่มักมีปัญหายุ่งยากในขั้นตอนการกลั่นและการไตเตรท การพัฒนาวิธีการวิเคราะห์จากวิธีมาตรฐานโดยการวัดสีแทนการกลั่น เป็นวิธีที่ให้ผลการวิเคราะห์แม่นยำ ใกล้เคียงกับวิธีมาตรฐานอย่างมาก ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ ในตัวอย่างแบรนด์ซุปไก่ เนื้อหมู และนมถั่วเหลืองผง สามารถหาปริมาณไนโตรเจนและโปรตีนโดยวิธี Micro-Kjeldahl ได้ค่าคิดเป็นร้อยละ 1. 156 ± 0.110, 3.24 ± 0.18 และ 5.57 ± 0.11 และ 7.22 ± 0.68, 20.23 ± 1.12 และ 34.82 ± 0.72 ตามลำดับ ส่วนถ้าหากใช้วิธีการวัดสีที่พัฒนาขึ้นจะได้ค่าไนโตรเจนและโปรตีน คิดเป็นร้อยละ 1.081 ± 0.060, 3.20 ± 0.11, 5.56 ± 0.17 และ 6.76 ± 0.38, 20.01 ± 0.71 และ 34.76 ± 1.04 ตามลำดับ ซึ่งวิธีการวัดที่มีความแม่นยำ สะดวก และรวดเร็วกว่าวิธีมาตรฐาน Kjeldahl อย่างมาก
บทคัดย่อ (EN): Kjeldahl method is usually well-known tor food protein analysis. However, this method has a complex problem particularly in distillation and titration steps. The modified method development, therefore, using colorimetric method was investigated. It was found that it was accurate and not significant difference from the standard Kjeldahl method. In fact that Brand's traditional essence of chicken, pork meat and soya milk powder were composed of total nitrogen (1. 156 ± 0.110, 3.24 ± 0.18% and 5.57 ±0.11%resectively)and protein(7.22±0.68%, 20.23 ± 1.12% and 34.82 ± 0.72% respectively) by using micro-Kjetdahl method. On the other hand, the same samples using colorimetric method were found 1.081 ± 0.060%, 320 ± 011% and 5.56 + 017% total nitrogen respectively and 676 ± 038% ,20.01 ± 0.71% and 34.76± 1.04% protein content respectively. Thus, it can be concluded that the colorimetric method could be used for food protein analysis as it was accurate, convenient and rapid method.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2533
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2534
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247696/169501
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
พัฒนาการวิเคราะห์โปรตีนในอาหาร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2534
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
บทบาทของการจับกันระหว่างโปรตีน Nck และ PDGFR ใน lens epithelial cell เพื่อใช้เป็นเป้าหมายของยาในการป้องกันการเกิดภาวะ posterior capsular ระดับโปรตีนและพลังงานในอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีของปลาสวายโมง การใช้ใบกระถินเทพาเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารโคนม การศึกษาระดับโปรตีนในอาหารที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชย์ ผลของการใช้ยูเรียทดแทนโปรตีนในอาหารเป็ดเนื้อ รูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาการเปลี่ยนเพศกบนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตอาหารปลอดภัย พันธุกรรมกับอาหารโคนม อาหารสำคัญเช่นใดกับมนุษยชาติ ผลของอาหารไก่เนื้อและอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ของไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ ชั่วรุ่นที่ 5) ภูมิภาคอาเซียนกับความมั่นคงทางอาหาร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก