สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่มีผลต่อพฤติกรรมของเห็บโค
วริน กล้าการขาย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่มีผลต่อพฤติกรรมของเห็บโค
ชื่อเรื่อง (EN): The influence of temperature and humidity to cattle tick behavior
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วริน กล้าการขาย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Warin Klakankhai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เห็บโค Rhipiceph alus microplus เป็นแมลงศัตรูที่ดูดกินเลือดทุกส่วนของร่างกายโคและวางไข่ที่ พื้นดิน ตัวอ่อนใช้วิธีการปีนต้นหญ้าเพื่อขึ้นไปยังตัวโค การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์เพื่อคาดคะเนช่วงเวลาที่เห็บโคมีพฤติกรรมการเคลื่อนย้ายจากพื้นดินขึ้นมา บนยอดหญ้าเพื่อไปยังตัวโค โดยการเปรียบเทียบอุณหภูมิและความชื้นใน 5 ช่วงเวลา ได้แก่ 09.00 น., 11.00 น., 13.00 น., 15.00 น. และ 17.00 น. พบว่าที่อุณหภูมิประมาณ 29 *C และ ความชื้น 46 - 50 % พบปริมาณ เห็บโคมากที่สุด คือ 1,904 ตัว และ 2,684 ตัว ตามลำดับ โดยอุณหภูมิมีความสัมพันธ์กับจำนวนเห็บโคแบบ แปรผกผัน (r = -0.972) เมื่ออุณหภูมิลดลง ปริมาณเห็บที่เคลื่อนย้ายมาบนยอดหญ้าจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น ในทาง ตรงกันข้ามขณะที่ความชื้นมีความสัมพันธ์กับจำนวนเห็บโคแบบแปรผันตรง ( = 0.908) การศึกษาครั้งนี้ถือ เป็นการรายงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของอากาศและความชื้นสัมพัทธ์กับปริมาณของเห็บโคที่ พบ ซึ่งสามารถนำใช้ประโยชน์ในการศึกษาเพิ่มเติมหรือการป้องกันกำจัดเน็บโค เพื่อลดความเสียหายที่เกิด จากเห็บโคต่อไปได้
บทคัดย่อ (EN): Cattle ticks, Rhipicephalus microplus can take blood from all part of cattle body, lay their eggs in soil and search for cattle in larval stage. The objective of present study was to examine the correlation between ambient temperatures, humidity and time influencing to questing behavior of cattle tick. Number of immature tick and environmental data were collected for 5 different time periods- 9.00 a.m., 11.00 a.m., 1.00 p.m., 3.00 p.m., and 5.00 p.m. The results showed that the highest number of cattle ticks was observed at 29 °C (1,904 ticks) and 46-50 %RH (2,684 ticks). Strongly negative correlation (r = -0.972) was seen between number of collected tick and temperature, indicate that the two variables tend to go in opposite directions. While positive correlation (r = 0.908) has found between number of collected tick and relative humidity (%RH). This study is a report for examining cattle tick and can be used in further studies.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=672.pdf&id=3790&keeptrack=5
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่มีผลต่อพฤติกรรมของเห็บโค
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2562
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การออกแบบเครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศโดยใช้คอมพิวเตอร์บันทึก อิทธิพลของฤดูกาลและดัชนีอุณหภูมิความชื้นต่อการเกิดรกค้างในโคนมลูกผสมขาวดำ อิทธิพลของฟอสเฟต ความเป็นกรด-เบสของดิน ความชื้นและอุณหภูมิที่มีต่อการดูดและการคายโบรอนในดิน อิทธิพลของวิธีการหย่านมแบบทางเลือกต่อพฤติกรรมของลูกกระบือปลัก อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงเบสของยีนSSIIaและสภาพแวดล้อมต่ออุณหภูมิแป้งสุกของข้าวไทย ผลของอุณหภูมิและวิธีการเก็บรักษาต่อแตนเบียนไข่, Trichogramma spp. ผลของลำดับคลอด ฤดูกาล คะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย อุณหภูมิ และความชื้น ของสิ่งแวดล้อม ต่อการทำงานของรังไข่หลังคลอดของโคขาลำพูน การพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นและความสว่างในโรงเรือนเพาะเห็ดและ แปลงสมุนไพรเนียมหอม โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ศึกษาผลของอุณหภูมิในการลดความชื้นที่มีต่อปริมาณกรดแกมมาแอมิโนบิวทิริก ในผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร ผลของอุณหภูมิรากต่อการเจริญเติบโตของลิ้นจี่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก