สืบค้นงานวิจัย
สภาวะการทำประมงลอบหมึกในน่านน้ำไทย
อนุชา ส่งจิตต์สวัสดิ์, สุชาติ แสงจันทร์, ปวโรจน์ นรนาถตระกูล, อัญชลีย์ ยะโกะ, อุดม เครือเนียม, เพราลัย นุชหมอน, อนุชา ส่งจิตต์สวัสดิ์, สุชาติ แสงจันทร์, ปวโรจน์ นรนาถตระกูล, อัญชลีย์ ยะโกะ, อุดม เครือเนียม, เพราลัย นุชหมอน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะการทำประมงลอบหมึกในน่านน้ำไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Status of Squid Trap Fishery in the Thai Water
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ลอบหมึก (Squid trap) เป็นเครื่องมือประมงพื้นบ้านที่ส าคัญส าหรับใช้ในการจับปลาหมึก ซึ่งส่วนใหญ ่แล้วจับได้หมึกหอม ประมาณร้อยละ 90 จากสถานการณ์ผลผลิตปลาหมึกจากการท า ประมงลอบหมึกที่มีปริมาณการจับลดลง ได้สะท้อนถึงความเสื่อมโทรมของทรัพยากร รวมทั้งพบว ่า มีปัญหาต่อการเสียหายของลอบค่อนข้างสูงเนื่องจากแหล่งท าการประมงที่ทับซ้อนกับเครื่องมืออื่นๆ จึงเกิดความขัดแย้งกันระหว ่างการท าประมงลอบหมึกกับอวนลาก หรือเครื ่องมืออื ่นๆ ที ่เกิดขึ้นบ ่อยๆ ทั้งนี้การแก้ปัญหาในด้านการบริหารจัดการต้องอาศัยข้อมูลทางด้านวิชาการ กองวิจัยและพัฒนาประมง ทะเลจึงได้จัดท าโครงการการวิจัยสภาวะการท าประมงลอบหมึกในน่านน้ าไทยขึ้น ซึ ่งการวิจัยครั้งนี้ได้ ครอบคลุมการศึกษาด้านสภาวะการประมงลอบหมึกในฝั ่งอ่าวไทยและฝั ่งอันดามันในแง ่มุมต่างๆ ทั้งวิธี ท าการประมงและแหล่งประมงในปัจจุบัน อัตราการจับ องค์ประกอบชนิดและขนาด รายได้และค่าใช้จ่าย ในการท าประมงลอบหมึก รวมทั้งทางด้านชีววิทยา ผลการศึกษาจะเป็นข้อมูลพื้นฐานและสามารถน าไป ประกอบในการตัดสินใจในการก าหนดแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรหมึก ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะเป็น ข้อมูลหนึ่งที่สามารถน าไปสู่การวางแผนก าหนดมาตรการ การก าหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมในการท าประมงลอบหมึก การก าหนดเขตการประมงลอบหมึก หรือการประมงอื่นโดยรวมซึ่งมีลอบหมึกเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรหมึกต ่อไปโดยชุดโครงการวิจัยสภาวะการท าประมงลอบหมึกในน่านน้ าไทย ด าเนินการระหว่าง ปงบประมาณ 2553-2554 ซึ่งภายใต้ชุดโครงการฯ มีโครงการย่อย 4 เรื่อง ดังนี้ สภาวะการประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก พบว่ามีการท าประมงลอบหมึกทุกเดือน โดยชาวประมงวางลอบตั้งแต่ 10-300 ลูก ใช้เรือขนาดความยาว 6.0-8.5 เมตร เครื่องยนต์ 9.5-115 แรงม้า มีแหล่งประมงที่ระดับน้ าลึก 3-45 เมตร ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นทรายถึงทรายปนโคลน จับได้หมึกหอม 0.60-4.04 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก หมึกกระดองลายเสือ 0.18-1.21 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก และหมึกกระดองใหญ่ 0.01-0.19 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก องค์ประกอบสัตว์น้ าที่จับได้เฉลี่ยทั้งปีได้แก่ หมึกหอมร้อยละ 85.93 รองลงมา คือ หมึกกระดองลายเสือร้อยละ 9.88 กลุ่มปลาร้อยละ 2.28 หมึกกระดองใหญ่ร้อยละ 1.88 และกลุ่มปูร้อยละ 0.03 ขนาดของหมึกหอมเพศผู้ที่จับได้มีความยาวล าตัวเฉลี่ย 16.09 เซนติเมตร เพศเมียมีความยาวล าตัวเฉลี่ย 15.65 เซนติเมตร หมึกกระดองลายเสือ (ไม่จ าแนกเพศ) มีความยาวล าตัว เฉลี่ย 17.45 เซนติเมตร และ หมึกกระดอกใหญ่ (ไม่จ าแนกเพศ) มีความยาวล าตัวเฉลี่ย 19.42 เซนติเมตร ชาวประมงมีรายได้เฉลี่ย 81,242.69 บาท/เดือน ต้นทุนเงินสดเฉลี่ย 55,826.00 บาท /เดือน รายได้เหนือต้นทุนเงินสดเฉลี่ย 25,416.69 บาท/เดือน อัตราส่วนเพศและฤดูวางไข่ของหมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana Lesson, 1830) บริเวณ อ่าวไทยฝั่งตะวันออก พบอัตราส่วนเพศระหว่างเพศผู้ต่อเพศเมียของหมึกหอมเท่ากับ 1:0.54 และวางไข่ได้ตลอด ทั้งปี โดยมีช่วงวางไข่สูง 3 ช่วง คือระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน มิถุนายน-สิงหาคม และตุลาคม-ธันวาคม การประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนใน พบเรือลอบหมึกขนาดเรือ 7-9 เมตร มีจ านวน 8 ล า จ านวนลอบ 50–200 ลูก/ล า ท าประมงไม่ไกลจากฝั่ง แหล่งท าการประมงบริเวณหาดตะวันรอน ต าบลบางเสร่ จังหวัดชลบุรี ที่ระดับความลึกน้ า 5–12 เมตร และเรือลอบหมึกขนาดเรือ 13-15 เมตร มีจ านวน 42 ล า 5 จ านวนลอบ 270 – 370 ลูก/ล า และแหล่งท าการประมงบริเวณอ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี ถึง อ าเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ระดับความลึกน้ า 16–45 เมตร เรือลอบขนาด 7-9 เมตร มีองค์ประกอบ สัตว์น้ าที่จับได้ประกอบด้วยหมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana) หมึกกระดอง (Sepia spp.) และสัตว์น้ าอื่นๆ ร้อยละ 80.0 5.4 และ 14.1 ตามล าดับ โดยมีอัตราการจับเฉลี่ยเท่ากับ 1.84 0.13 และ 0.32 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก ตามล าดับ จากจ านวนตัวอย่างหมึกหอม 2,863 ตัว ประกอบด้วยเพศผู้ 1,939 ตัว และเพศเมีย 924 ตัว พบว่า เพศผู้มีความยาวล าตัวตั้งแต่ เฉลี่ย 14.87 เซนติเมตร ส่วนเพศเมียมีความล าตัวตั้งแต่ เฉลี่ย 14.84เซนติเมตร เรือลอบหมึกขนาดเรือ 13-15 เมตร หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana) หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis) และ หมึกกระดองใหญ่ (S. aculeata) ร้อยละ 56 35 และ 9 ตามล าดับ อัตราการจับเฉลี่ยของหมึกหอม และหมึกกระดองเท่ากับ 9.3 และ 4.73 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก ตามล าดับ จากจ านวนตัวอย่าง หมึกหอม 186,925 ตัว ประกอบด้วยเพศผู้ 111,794 ตัว และเพศเมีย 75131 ตัว พบว่า เพศผู้มี ความยาวล าตัวตั้งแต่ เฉลี่ย 17.83 เซนติเมตร ส่วนเพศเมียมีความยาวล าตัวตั้งแต่ เฉลี่ย 16.61 เซนติเมตร การศึกษาทางด้านชีววิทยาพบหมึกหอมมีอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเป็น 1:0.56 ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวและน้ าหนักของหมึกหอมรวมเพศ คือ W = 0.362 ML2.343 โดยของเพศเมีย W = 0.417 ML2.306 และเพศผู้ W = 0.337 ML2.361 หมึกหอมสามารถผสมพันธุ์วางไข่ได้ตลอดทั้งปี มีฤดู สืบพันธุ์วางไข่สูง 3 ช่วง คือ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ซึ่งพบสูงสุด ช่วงกรกฎาคม-กันยายน และช่วง พฤศจิกายน-ธันวาคม เรือลอบหมึกขนาด 7-9 เมตร มีต้นทุนคงที่เท่ากับ 14,441.15 บาท/ปี หรือ 68.44 บาท/เที่ยว คิดเป็นร้อยละ 7.00 ของต้นทุนทั้งหมด ส่วนต้นทุนผันแปรมีค่าเท่ากับ 909.02 บาท/เที่ยว คิดเป็นร้อยละ 93.00 ของต้นทุนทั้งหมด ชาวประมงมีรายได้ 336.50 - 4,132.80 บาท/เที่ยว มีรายได้เฉลี่ย 1,488.73 บาท/เที่ยว และมีก าไรสุทธิเท่ากับ 511.27 บาท/เที่ยว การประมงลอบหมึกทางฝั่งทะเลอันดามัน พบว่าลอบหมึกมีโครงลอบแบบทรงกระบอกครึ่งซีก ท าจากไม้ ขนาดลอบกว้าง 0.5-0.8 เมตร ยาว 0.9-1.1 เมตร และสูง 0.4-0.9 เมตร ราคาต้นทุนการผลิต 180-250 บาท/ลูก มีอายุการใช้งานประมาณ 3-6 เดือน ท าการประมงได้ตลอดทั้งปี มีอัตราการจับเฉลี่ยในเขต ท าการประมงที่ 6 (จังหวัดระนอง และพังงา) เท่ากับ 3.78 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก โดย สูงสุดในเดือนตุลาคม และต่ าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ ในเขตท าการประมงที่ 7 (จังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล) เท่ากับ 2.37 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก สูงสุดในเดือนธันวาคม และต่ าสุดในเดือนพฤษภาคม สัตว์น้ าที่จับได้ส่วนใหญ่เป็น หมึกหอม และหมึกกระดอง สัดส่วนของชนิดปลาหมึกในเขตท าการประมงที่ 6 พบ หมึกหอมร้อยละ 62.98 หมึกกระดองร้อยละ 37.02 และในเขตท าการประมงที่ 7 พบหมึกหอมร้อยละ 79.42 หมึกกระดองร้อยละ 20.58 ขนาดความยาวล าตัวของหมึกหอมที่จับได้ในเขตท าการประมงที่ 6 มีขนาดเฉลี่ย 17.71 เซนติเมตร และในเขตท าการประมงที่ 7 เท่ากับ 16.35 เซนติเมตร รายได้เหนือต้นทุนเงินสดเฉลี่ยในเขตท าการประมงที่ 6 และ 7 อยู่ในช่วง 1,272-3,160 และ 571-2,152 บาท/เที่ยว ตามล าดับ ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana Lesson, 1830) ทางฝั่งทะเล อันดามัน พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความยาวล าตัวกับน้ าหนักตัวของหมึกหอมจ านวน 5,200 ตัว ซึ่งมีความ 6 ยาวล าตัว 4.70-35.50 เซนติเมตร น้ าหนักตัว 15.00-1,820.00 กรัม อยู่ในรูปสมการ W=0.3395ML2.4020 เพศผู้จ านวน 2,557 ตัว ความยาวล าตัว 4.70-35.50 เซนติเมตร น้ าหนักตัว 15.00-1,820.00 กรัม อยู่ในรูป สมการ W=0.3632ML2.3676 เพศเมียจ านวน 2,643 ตัว ความยาวล าตัว 5.00-30.50 เซนติเมตร น้ าหนักตัว 15.00-1,410.00 กรัม อยู่ในรูปสมการ W=0.3145ML2.4395 และมีอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมีย เท่ากับ 1:0.97 ซึ่งไม่มีความแตกต่างทางสถิติขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์(L50) ของหมึกหอมเพศผู้และเพศเมีย เท่ากับ 11.86 และ 13.67 เซนติเมตร ตามล าดับ มีการวางไข่ได้เกือบตลอดปีโดยวางไข่มากในช่วงเดือนมิถุนายน-ธันวาคม ซึ่งวางไข่สูงสุดในเดือนตุลาคม ความดกไข่เท่ากับ 189-1,382 ฟอง ไข่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.04x4.30 มิลลิเมตร ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวล าตัวกับความดกไข่อยู่ในรูปสมการ F=2.0342ML1.9341
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-12-31
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291412
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะการทำประมงลอบหมึกในน่านน้ำไทย
กรมประมง
31 ธันวาคม 2554
เอกสารแนบ 1
กรมประมง
สภาวะการทำประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก แนวทางการกำหนดเขตพื้นที่ทำการประมงในน่านน้ำไทย การทำประมงลอบหมึกทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประมงหมึกกล้วยในอ่าวไทย การประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนใน การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียม VIIRS เพื่อศึกษาการทำประมงประกอบแสงไฟในน่านน้ำไทย ชีวประมงของปลากะตักในน่านน้ำไทย การวางลอบหมึกที่ระดับความลึกต่างกันบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก การวิเคราะห์ความร่วมมือด้านการประมงระหว่างไทยและสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ทรัพยากรปลาโอในน่านน้ำไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก