สืบค้นงานวิจัย
การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมของพืชผักบางชนิด
จิระเดช แจ่มสว่าง, สมชาย สุขะกูล, อนงค์นุช สาสนรักกิจ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมของพืชผักบางชนิด
ชื่อเรื่อง (EN): Selection of antagonistic fungi capable for controlling of root-knot nematode in vegetables
บทคัดย่อ: การแยกเชื้อราจากดิน ราก ไข่ และตัวเต็มวัยของไส้เดือนฝอยจากแปลงปลูกพืชที่เกิดโรคและไม่เกิดโรครากปมเนื่องจากไส้เดือนฝอย ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร อุบลราชธานีและนครปฐม ได้เชื้อราทั้งหมด 547 isolates เชื้อราที่พบ ได้แก่ เชื้อราที่เป็นสาเหตุโรคพืชและเชื้อราปฏิปักษ์ เช่น Trichoderma, Chaetomium, Humicola, Stemphylium, Aspergillus, Lasiodiplodia, Fusarium, Hamigera, Penicillium, Rhizoctonia, Rhizopus, Scytalidium, Gelasinospora, Eupenicillium, Paecilomyces เป็นต้น พบเชื้อราที่มีรายงานการเข้าทำลายไส้เดือนฝอยรากปม 4 ชนิดคือ Paecilomyces lilacinus, Trichoderma spp., Aspergillus spp. และ Fusarium spp. เชื้อราปฏิปักษ์ที่ใช้ในการทดลองนี้คือ Paecilomyces lilacinus และ Trichoderma spp. เส้นใยเชื้อรา Paecilomyces lilacinus สามารถเข้าทำลายไข่ของไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita ระหว่าง 24.86-44.56 เปอร์เซ็นต์ โดยไอโซเลท รหัส 10/4 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่สูงสุดคือ 44.56 เปอร์เซ็นต์ และไอโซเเลทเลขรหัส P1 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ต่ำสุดคือ 24.86 เปอร์เซ็นต์ และเส้นใยของเชื้อรา Trichoderma spp. มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ระหว่าง 4.17-24.55 เปอร์เซ็นต์ โดยไอโซเลท รหัส T12 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่สูงสุดเพียง 24.55 เปอร์เซ็นต์ ไอโซเลทเลขรหัส 44/3S มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ต่ำสุดคือ 4.17 เปอร์เซ็นต์ เส้นใยของเชื้อรา P. lilacinus และ Trichoderma spp. ไม่สามารถเข้าทำลายตัวอ่อนของไส้เดือนฝอยรากปมได้ การแยกเชื้อราจากดิน ราก ไข่ และตัวเต็มวัยของไส้เดือนฝอยจากแปลงปลูกพืชที่เกิดโรคและไม่เกิดโรครากปมเนื่องจากไส้เดือนฝอย ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร อุบลราชธานีและนครปฐม ได้เชื้อราทั้งหมด 547 isolates เชื้อราที่พบ ได้แก่ เชื้อราที่เป็นสาเหตุโรคพืชและเชื้อราปฏิปักษ์ เช่น Trichoderma, Chaetomium, Humicola, Stemphylium, Aspergillus, Lasiodiplodia, Fusarium, Hamigera, Penicillium, Rhizoctonia, Rhizopus, Scytalidium, Gelasinospora, Eupenicillium, Paecilomyces เป็นต้น พบเชื้อราที่มีรายงานการเข้าทำลายไส้เดือนฝอยรากปม 4 ชนิดคือ Paecilomyces lilacinus, Trichoderma spp., Aspergillus spp. และ Fusarium spp. เชื้อราปฏิปักษ์ที่ใช้ในการทดลองนี้คือ Paecilomyces lilacinus และ Trichoderma spp. เส้นใยเชื้อรา Paecilomyces lilacinus สามารถเข้าทำลายไข่ของไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita ระหว่าง 24.86-44.56 เปอร์เซ็นต์ โดยไอโซเลท รหัส 10/4 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่สูงสุดคือ 44.56 เปอร์เซ็นต์ และไอโซเเลทเลขรหัส P1 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ต่ำสุดคือ 24.86 เปอร์เซ็นต์ และเส้นใยของเชื้อรา Trichoderma spp. มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ระหว่าง 4.17-24.55 เปอร์เซ็นต์ โดยไอโซเลท รหัส T12 มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่สูงสุดเพียง 24.55 เปอร์เซ็นต์ ไอโซเลทเลขรหัส 44/3S มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายไข่ต่ำสุดคือ 4.17 เปอร์เซ็นต์ เส้นใยของเชื้อรา P. lilacinus และ Trichoderma spp. ไม่สามารถเข้าทำลายตัวอ่อนของไส้เดือนฝอยรากปมได้
บทคัดย่อ (EN): Isolation of fungi from soil, infected root, egg masses and adult females from the nematode infected field and non-infected field in Nonthaburi, Pratumtani, Samutsakorn Ubonratchatani and Nakornpratom Province. The 547 isolated of fungi were found including plant pathogenic fungi and nematode antagonistic fungi such as Trichoderma, Chaetomium, Humicola, Stemphylium, Aspergillus, Lasiodiplodia, Fusarium, Hamigera, Penicillium, Rhizoctonia, Rhizopus, Scytalidium, Gelasinospora, Eupenicillium and Paecilomyces etc. Four genus were reported their efficacy on root-knot nematodes infection, Paecilomyces lilacinus, Trichoderma spp., Aspergillus spp. and Fusarium spp. Antagonistic fungi used in this experiment were Paecilomyces lilacinus and Trichoderma spp. Paecilomyces lilacinus could infect eggs of root-knot nematode, Meloidogyne incognita during 24.86-44.56%. The highest percentage of infection was isolate code 10/4, 44.56% and the lowest infection was P1, 24.86%. Percentages of Trichoderma spp. to infect root-knot nematode eggs were 4.17-24.55%. Isolate T12 was highest infected root-not nematode eggs, 24.55% and the lowest infection was 43/3S, infection was only 4.17%. Both of antagonistic fungi, Paecilomyces lilacinus and Trichoderma spp. could not infected infective juveniles of root-knot nematode Isolation of fungi from soil, infected root, egg masses and adult females from the nematode infected field and non-infected field in Nonthaburi, Pratumtani, Samutsakorn Ubonratchatani and Nakornpratom Province. The 547 isolated of fungi were found including plant pathogenic fungi and nematode antagonistic fungi such as Trichoderma, Chaetomium, Humicola, Stemphylium, Aspergillus, Lasiodiplodia, Fusarium, Hamigera, Penicillium, Rhizoctonia, Rhizopus, Scytalidium, Gelasinospora, Eupenicillium and Paecilomyces etc. Four genus were reported their efficacy on root-knot nematodes infection, Paecilomyces lilacinus, Trichoderma spp., Aspergillus spp. and Fusarium spp. Antagonistic fungi used in this experiment were Paecilomyces lilacinus and Trichoderma spp. Paecilomyces lilacinus could infect eggs of root-knot nematode, Meloidogyne incognita during 24.86-44.56%. The highest percentage of infection was isolate code 10/4, 44.56% and the lowest infection was P1, 24.86%. Percentages of Trichoderma spp. to infect root-knot nematode eggs were 4.17-24.55%. Isolate T12 was highest infected root-not nematode eggs, 24.55% and the lowest infection was 43/3S, infection was only 4.17%. Both of antagonistic fungi, Paecilomyces lilacinus and Trichoderma spp. could not infected infective juveniles of root-knot nematode
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมของพืชผักบางชนิด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2552
การใช้เชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม ศักยภาพการใช้พืชปฏิปักษ์และผลิตภัณฑ์จากพืชบางชนิดในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในมะเขือเทศ การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita Chitwood) การควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ของฝรั่งด้วยสารสกัดจากเชื้อรา เอคโตไมคอร์ไรซาบางชนิด การประเมินประสิทธิภาพเชื้อราในดินต่อการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita สาเหตุโรครากปมพริกในแปลงปลูกพืชขนาดเล็ก การค้นหาไส้เดือนฝอยตัวห้ำเพื่อใช้ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม การคัดเลือกพืชทดสอบเพื่อใช้ประเมินความหนาแน่นของประชากรไส้เดือนฝอยรากปมในดิน การทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ของเชื้อราต่อกลุ่มไข่ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita Chitwood และกิจกรรมเอนไซม์ย่อยสลาย ผลของสารสกัดจากดาวเรืองในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมมะเขือเทศ การจัดการป้องกันและกำจัดไส้เดือนฝอยรากปมมันฝรั่งของเกษตรกรในจังหวัดตาก
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก