สืบค้นงานวิจัย
ศักยภาพการใช้ประโยชน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มของปูหิน บริเวณพื้นที่อ่าวสิเกา จังหวัดตรัง
วรวุฒิ เกิดปราง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง: ศักยภาพการใช้ประโยชน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มของปูหิน บริเวณพื้นที่อ่าวสิเกา จังหวัดตรัง
ชื่อเรื่อง (EN): Potential of usage and value increment of spiny rock crab (Thalamita crenata) in Sikao bay, Trang province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วรวุฒิ เกิดปราง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปูหินในบริเวณอ่าวสิเกา จังหวัดตรัง โดยคำเนินการเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับการชั่งวัดขนาดปูหิน และบันทึกข้อมูลการทำประมงของชาวประมงระหว่างเดือน ตุลาคม 2551 ถึงเดือนกันยายน 2552 ผลการศึกษาปรากฎว่าค่พารามิเตอร์การเจริญเติบ โตของปูหิน มี ค่าความกว้างกระดองสูงสุด 90.10 มม. ค่าการเจริญเติบโตเท่ากับ 1.70 ต่อปี ค่าสัมประสิทธิ์การตาย รวมของปูหินเท่ากับ 7.72 ต่อปี เป็นการตายโดยธรรมชาติ 1.96 ต่อปี และการตายโดยการประมง เท่ากับ ร.76 ต่อปี ค่าอัตราการ ใช้ประ โยชน์เท่ากับ 0.75 แสดงว่าในปัจจุบันทรัพยากรปูหินมีการใช้ เกินศักย์การผลิต จากการประเมินสภาวะทรัพยากรปูหินพบว่ามีการทดแทนที่ของปูหินที่ขนาคความ กว้างกระคองปูหิน 32.0 มม. จำนวน 425,120 ตัว ดังนั้นหากต้องการให้การประมงปูหินได้รับผลผลิต ที่สมดุลกับธรรมชาติและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน จะต้องลคระดับการทำประมงลงจากปัจจุบัน ประมาณร้อยละ 25
บทคัดย่อ (EN): The stock assessment of Spiny Rock Crab in Sikag bay Trang province the study on consisted of random sampling of catches by using length-weight and fisheries of Spiny Rock Crab during October 2008 and September 2009. The estimate of growth parameter of crab revealed that the asymptotic length (CWc) was 90.10 mm. the curvature parameter (K) was 1.70 year" The total mortality coefficient (Z) was 7.72 year, the natural mortality coefficient (M) 1.96 year and the fishing mortality coefficient (F) 5.76 year. The exploitation rate (E) was 0.75. The recruitment of stock crab at first capture (Lc) 32.0 mm. were 425,120 each. The result of stock assessment showed that over the maximum sustainable yield (MSY). The 25 % decreasing level of fishing effort would be advantageous and for keeping the sustainability of the stock.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศักยภาพการใช้ประโยชน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มของปูหิน บริเวณพื้นที่อ่าวสิเกา จังหวัดตรัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
30 กันยายน 2552
การศึกษาสมบัติของแป้งหัวมันเพิ่มและการใช้ประโยชน์เพื่อการสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มของชุมชนตำบลเนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก การศึกษาห่วงโซ่อุปทานเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออก : กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โครงสร้างและความหลากหลายของป่าชายเลนที่อยู่ใกล้แหล่งชุมชนและอยู่ห่างแหล่งชุมชน : กรณีศึกษาชายฝั่งอ่าวสิเกา อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง การศึกษา " งาขี้ม้อน" พืชน้ำมันชนิดใหม่ กับการใช้ประโยชน์ การสกัดน้ำมันอะโวคาโดและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลอะโวคาโด แนวทางการทำตลาดสุกรอินทรีย์ (หมูหลุม) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเขตภาคเหนือ รูปแบบการอพยพและชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาไหลทะเลเขตร้อนในเขตพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดตรัง สภาวะทรัพยากรหอยตลับและหอยชักตีนและแนวทางการจัดการเพื่อความยั่งยืนในพื้นที่ชายฝั่ง จังหวัดตรัง แนวทางการจัดการประมงกั้งตั๊กแตนในจังหวัดตรัง การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือจากการผลิตลำไยเพื่อเป็นอาหารโค

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก