สืบค้นงานวิจัย
สภาวะการประมงและการประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำขนาดเล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา
วิรัตน สนิทมัจโร, ภัคจุฑา เขมากรณ์, สุวรรณทนา ทศพรพิทักษ์กุล, กิ่งกาญจน์ วิบุญพันธ์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะการประมงและการประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำขนาดเล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา
ชื่อเรื่อง (EN): The Fishery Status and Economic Loss Assessment due to the Use of Juveniles of Commercial Fishing Vessels in Coastal Areas of Nakhon Sri Thammarat and Songkhla Provinces
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ึกษาสภาวะการประมงและประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้้าขนาด เล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา โดยเก็บข้อมูลจากเรือ อวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก (ตั้งแต่ 10 ตันกรอสขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 ตันกรอส) บริเวณท่าเทียบเรือในเขต จังหวัดนครศรีธรรมราช จ้านวน 2 แห่ง และท่าเทียบเรือประมงสงขลา จ้านวน 1 แห่ง ระหว่างเดือนมกราคม- ธันวาคม 2558 พบว่าเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็กมีแหล่งท้าการประมงครอบคลุมพื้นที่ระดับความลึก 10- 30 เมตร ตั้งแต่อ้าเภอเมืองสงขลา สิงหนคร สทิงพระ ระโนด จังหวัดสงขลา เรื่อยขึ้นไป ถึงตอนเหนือเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยที่เรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็กบริเวณจังหวัดสงขลา มีอัตราการจับสัตว์น้้าเฉลี่ย 24.15กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ 517.62 กิโลกรัม/วัน สัตว์น้้าที่จับได้ประกอบด้วยปลาเป็ดร้อยละ 57.89 และสัตว์น้้า เศรษฐกิจร้อยละ 42.11 ส่วนจังหวัดนครศรีธรรรมราช มีอัตราการจับเฉลี่ยอยู่ในช่วง 10.09-37.85 กิโลกรัม/ ชั่วโมง อัตราการจับสัตว์น้้าเฉลี่ย 20.52กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ 591.64 กิโลกรัม/วัน สัตว์น้้าที่จับได้ประกอบด้วย ปลาเป็ดร้อยละ 34.35 และสัตว์น้้าเศรษฐกิจร้อยละ 65.65 องค์ประกอบสัตว์น้้าเป็นกลุ่มปลาเป็ดสูงสุด ร้อยละ 36.54 รองลงมา คือ กลุ่มปลาหน้าดิน กุ้ง ปลาหมึก ปลาผิวน้้า ปู และสัตว์น้้าเศรษฐกิจอื่นๆ ร้อยละ 20.91, 17.06, 15.40, 2.57, 1.90 และ 2.61 ตามล้าดับ ในกลุ่มของปลาเป็ดประกอบด้วยสัตว์น้้าเศรษฐกิจขนาดเล็ก และปลาเป็ดแท้ ร้อยละ 34.43 และ 65.77 ตามล้าดับ สัตว์น้้าเศรษฐกิจขนาดเล็กที่ส้าคัญ คือ กลุ่มปลาหน้า ดิน ร้อยละ 20.11 ปลาผิวน้้า ร้อยละ 3.44 ของกลุ่มปลาเป็ดที่จับได้ทั้งหมด อัตราการจับสัตว์น้้าเฉลี่ยใน เดือนตุลาคม และพฤศจิกายน 2558 ซึ่งเป็นเดือนต้นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราการจับเฉลี่ย แตกต่างกับเดือนอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญ (p
บทคัดย่อ (EN): The study on status and economic loss assessment due to the use of juveniles of commercial fishing vessels in coastal areas of Nakhon Sri Thammarat and Songkhla provinces was conducted by collecting data from small otter board trawlers (from 10 gross tonnage - less than 20 gross tonnage) at 2 fishing ports lacated in Nakhon Si Thammarat province and 1 fishing port lacated in Songkhla province during January-December 2015. The results showed that the fishing ground of small otter board trawlers was the area with 10-30 meters of water depth from Muang, Singhanakhon, Satingpra Ranote District, Songkhla Province to the north of Ko Pa-Ngan, Surattani Province. While the fishing ground of medium otter board trawlers was the area with 10-70 meters of water depth from Ranote District, Songkhla Province to the north of Ko Pa-Ngan, Surattani Province. In term of the average catch per unit effort (CPUE), there was 20.52 kg/hr or 591.64 kg/day in Nakhon Si Thammarat Province and 24.15 kg/hr or 517.62 kg/in Songkhla Province These trawlers caught 65.65% and 42.11% of economic marine species; and 34.35% and 57.89% of trash fish, respectively, and the compositions of trash fish caught by them was 34.43% of young economic marine species; and 65.77% of true trash fish. The catch average in October and November 2558, the month the northeast monsoon. The average catch rate difference with the other months, Significantly (p
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-03
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-06-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะการประมงและการประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำขนาดเล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา
กรมประมง
30 มิถุนายน 2559
กรมประมง
สภาวะการประมงอวนลากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556 ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา มูลค่าและการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำของชุมชนในบริเวณอ่างเก็บน้ำเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ การประมงอวนลากคานถ่างที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์จากจังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการประมง 2561 การประมงและสภาวะเศรษฐกิจสังคมของอวนจมปูจากเรือที่มีการแจ้งเข้า–ออกในจังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2562 สภาวะการทำการประมงปลากุเรา Eleutheronema tetradactylum (Shaw, 1804) ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ศักยภาพของพื้นที่ในการจัดสร้างปะการังเทียมเพื่อการประมง การใช้ไรน้ำนางฟ้าเพื่อเป็นอาหารสัตว์น้ำเศรษฐกิจในจังหวัดตรัง การประมงอวนล้อมจับจากเรือที่ขึ้นท่าในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556 การใช้น้ำมันกานพลูเป็นยาสลบสำหรับสัตว์น้ำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL