สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่างๆ ของประเทศไทย
ภุชงค์ เพชรมนต์1, ประหยัด ฑีฆาวงศ์1, นคร มหายศนันท์1, สัญญา ทองสีดำ1, เกศสุดา มนตรีศรี1, วันทนา ทองเล่ม1, นพดล พันธุ์คำเกิด1, ธนพร ศิลปะชัย1, สยุมพร สุภรพงษ์1, นันทวรรณ รักพงษ์1, ดนัย นาคประเสริฐ1, หทัยกาญจน์ นำภานนท์1, สมโภชน์ ป้านสุวรรณ1, เสาวนีย์ อภิญญานุวัฒน์1, วัชรพงษ์ แก้วหอม1, ดิเรก สังข์ศรี1, ณรงค์ แก้วสาหลง1, วิศิษฐ์ ไฝจันทร์1, พัชรินทร์ โพธิ์ทอง1, โอภาส คล้ายทรง1, พิชัย เชื้องาม1, วนิดา สุวรรณสิทธิ์1, อดิษฐ์ อินทร์สุวรรณ1, พะเยาว์ บุตรวาทิตย์1, สิคิริยา เรืองยุทธการณ์1, ไพบูลย์ ตาเจริญเมือง1, สุรพงษ์ จันทร์พงษ์1, พรทิพย์ เพชรมนต์1, สุภาพร ไกรวิมล 1, พิมลรัตน์ เมธินรังสรรค์1, กรณ์ฑิมา จุทอง1, ประสิทธิ เพชรสุข1, มนชัย มีสุข1, บุญมา ผางาม1, บุษรา ระวินู1, รุ่งรัตน์ อิฐรัตน์1, ประชาชาติ นพเสนีย์ 1, สุนารักษ์ โสภา1, สมบัติ กองภา1, ฉัตรชัย อาภาภรณ์รัตน์1, สุกัญญา ชุ่มชื่น1, พรทิพย์ คุ้มครอง1, ขนิฎฐา พรมโลก1, ลำแพน สารจันทึก1, สุริยะ จันทร์แสงศรี1, ภัทรกร ธัณฐ์รักษ์1, ธเนศ จันทร์เทศ1, ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน1, สันติภาพ นวลจำรัส1, สมพันธ์ ศรีหาวงษ์1, ภาวิณี อาสน์สุวรรณ1 - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่างๆ ของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Development of Silkworm Project
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่างๆ ของประเทศไทย ศึกษาเพื่อให้ได้ไหมพันธุ์ไทยและพันธุ์ไทยลูกผสมที่ตอบสนองต่อการเลี้ยงในพื้นที่ภาคต่างๆ อย่างน้อยชนิดละ 1 พันธุ์ ดำเนินการทดลองภายในศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ สังกัดสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จำนวน 18 ศูนย์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2550 ถึง กันยายน 2551 จำนวน 4 รุ่น โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 งานทดลอง วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) งานทดลองแรกเป็นการเลี้ยงไหมเปรียบเทียบพันธุ์ไทย จำนวน 4 ซ้ำ 5 พันธุ์ ประกอบด้วยพันธุ์นางน้อยศรีษะเกษ (check), นางลาย, สำโรง, นางน้อยสกลนคร และพันธุ์ 491 ส่วนงานทดลองที่ 2 เป็นการเลี้ยงไหมเปรียบเทียบพันธุ์ไทยลูกผสม จำนวน 7 ซ้ำ 3 พันธุ์ ประกอบด้วยพันธุ์อุบลราชธานี 60-35 (check), เหลืองสุรินทร์ และสกลนคร2 ผลการศึกษาจากงานทดลองเปรียบเทียบ แสดงให้เห็นว่าไหมพันธุ์ไทย พันธุ์นางน้อยสกลนคร เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง สำหรับไหมพันธุ์ไทยลูกผสมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ทุกภาคของประเทศไทย คือ พันธุ์สกลนคร 2 รองลงมาคือพันธุ์อุบลราชธานี 60-35 และพันธุ์เหลืองสุรินทร์ อย่างไรก็ตาม การศึกษาที่ผ่านมาเป็นการศึกษาภายในศูนย์เท่านั้นยังไม่ได้นำไปศึกษาในระดับเกษตรกร จึงไม่สามารถระบุพันธุ์ไหมที่เหมาะสม กับการเลี้ยงไหมของเกษตรกรได้ ดังนั้นจึงมีความเห็นว่าน่าจะนำไปศึกษาในระดับเกษตรกรด้วย เพี่อจะได้นำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาพันธุ์ไหมที่เหมาะสมกับเกษตรกรในอันดับต่อไป
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2551-18.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่างๆ ของประเทศไทย
ภุชงค์ เพชรมนต์1 ประหยัด ฑีฆาวงศ์1 นคร มหายศนันท์1 สัญญา ทองสีดำ1 เกศสุดา มนตรีศรี1 วันทนา ทองเล่ม1 นพดล พันธุ์คำเกิด1 ธนพร ศิลปะชัย1 สยุมพร สุภรพงษ์1 นันทวรรณ รักพงษ์1 ดนัย นาคประเสริฐ1 หทัยกาญจน์ นำภานนท์1 สมโภชน์ ป้านสุวรรณ1 เสาวนีย์ อภิญญานุวัฒน์1 วัชรพงษ์ แก้วหอม1 ดิเรก สังข์ศรี1 ณรงค์ แก้วสาหลง1 วิศิษฐ์ ไฝจันทร์1 พัชรินทร์ โพธิ์ทอง1 โอภาส คล้ายทรง1 พิชัย เชื้องาม1 วนิดา สุวรรณสิทธิ์1 อดิษฐ์ อินทร์สุวรรณ1 พะเยาว์ บุตรวาทิตย์1 สิคิริยา เรืองยุทธการณ์1 ไพบูลย์ ตาเจริญเมือง1 สุรพงษ์ จันทร์พงษ์1 พรทิพย์ เพชรมนต์1 สุภาพร ไกรวิมล 1 พิมลรัตน์ เมธินรังสรรค์1 กรณ์ฑิมา จุทอง1 ประสิทธิ เพชรสุข1 มนชัย มีสุข1 บุญมา ผางาม1 บุษรา ระวินู1 รุ่งรัตน์ อิฐรัตน์1 ประชาชาติ นพเสนีย์ 1 สุนารักษ์ โสภา1 สมบัติ กองภา1 ฉัตรชัย อาภาภรณ์รัตน์1 สุกัญญา ชุ่มชื่น1 พรทิพย์ คุ้มครอง1 ขนิฎฐา พรมโลก1 ลำแพน สารจันทึก1 สุริยะ จันทร์แสงศรี1 ภัทรกร ธัณฐ์รักษ์1 ธเนศ จันทร์เทศ1 ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน1 สันติภาพ นวลจำรัส1 สมพันธ์ ศรีหาวงษ์1 ภาวิณี อาสน์สุวรรณ1
กรมหม่อนไหม
2551
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย การทดสอบพันธุ์ไหมพันธุ์ไทยชนิดลูกผสมเดี่ยวที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ภาคต่างๆ ของประเทศไทย โครงการวิจัยและพัฒนามะม่วงหิมพานต์ การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวสาลี การพัฒนาศักยภาพการผลิตพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพและการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมต่อพื้นที่โดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ในภาคเหนือของประเทศไทย การพัฒนาสีของเส้นใยฝ้ายเขียวโดยรังสีแกมม่า การใช้รังสีแกมมาเพื่อเพิ่มผลผลิตของไหมพันธุ์ไทย พื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกของประเทศไทย: สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต การวิจัยและพัฒนาขั้นต่อยอดเพื่อพัฒนาเทคนิคการเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นถึงขนาดตลาดในบ่อดินสำหรับการประยุกต์ใช้ในการทำฟาร์มเลี้ยงหอยหวานบนบกเชิงพาณิชย์ของประเทศไทย : รายงานวิจัย การปรับปรุงพันธุ์ไหมสายพันธุ์จีนและญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับการเลี้ยงในเขตร้อน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก