สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาระบบ Bioreactor Membrane เพื่อผลิตสาหร่ายโดยใช้น้ำสกัดชีวภาพจากไส้เดือนเป็นสารอาหารอย่างครบวงจร
พิลาณี ไวถนอมสัตย์, สาวิตรี จันทรานุรักษ์, สมชัย จันทร์สว่าง - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาระบบ Bioreactor Membrane เพื่อผลิตสาหร่ายโดยใช้น้ำสกัดชีวภาพจากไส้เดือนเป็นสารอาหารอย่างครบวงจร
ชื่อเรื่อง (EN): Study ofBioreactor Membrane system for the production of microalgae using worm tea as nutrients.
บทคัดย่อ: จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงสาหร่าย Synechococcus sp. ในฟลาสก์ ขนาด 500 มล. ด้วยอาหารสังเคราะห์ castenholtz D medium พบว่าสภาวะที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่าย คือ ความเข้มแสง 8,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ให้แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน และปริมาณการป้อนคาร์บอนไดออกไซด์ 5% เนื่องจากอาหารสังเคราะห์มีราคาแพง จึงทำการเปรียบเทียบระหว่างการเลี้ยงด้วยอาหารสังเคราะห์นี้กับอาหารธรรมชาติที่เป็นน้ำสกัดชีวภาพจากมูลไส้เดือนเป็นเวลา 10 วัน พบว่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุดคือ 4.26 กรัมต่อลิตร และ 4.14 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในการขยายเสกลการเลี้ยงเป็นระบบ Bioreactor Membrane ที่ออกแบบเพื่อรองรับการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าถ่านหินโดยเลี้ยงในอาหารที่เป็นน้ำสกัดชีวภาพจากมูลไส้เดือนเป็นเวลา 7 วัน พบว่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุดคือ 3.41 กรัมต่อลิตร มีอัตราการเจริญเติบโตของสาหร่ายบนเมมเบรนเท่ากับ 5.57 กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ได้น้ำมันร้อยละ 3.40 จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงสาหร่าย Synechococcus sp. ในฟลาสก์ ขนาด 500 มล. ด้วยอาหารสังเคราะห์ castenholtz D medium พบว่าสภาวะที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่าย คือ ความเข้มแสง 8,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ให้แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน และปริมาณการป้อนคาร์บอนไดออกไซด์ 5% เนื่องจากอาหารสังเคราะห์มีราคาแพง จึงทำการเปรียบเทียบระหว่างการเลี้ยงด้วยอาหารสังเคราะห์นี้กับอาหารธรรมชาติที่เป็นน้ำสกัดชีวภาพจากมูลไส้เดือนเป็นเวลา 10 วัน พบว่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุดคือ 4.26 กรัมต่อลิตร และ 4.14 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในการขยายเสกลการเลี้ยงเป็นระบบ Bioreactor Membrane ที่ออกแบบเพื่อรองรับการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าถ่านหินโดยเลี้ยงในอาหารที่เป็นน้ำสกัดชีวภาพจากมูลไส้เดือนเป็นเวลา 7 วัน พบว่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุดคือ 3.41 กรัมต่อลิตร มีอัตราการเจริญเติบโตของสาหร่ายบนเมมเบรนเท่ากับ 5.57 กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ได้น้ำมันร้อยละ 3.40
บทคัดย่อ (EN): The optimum conditions to grow Synechococcus sp. in 500 ml. flask were studied using synthesis castenholtz D medium. It was found that the conditions were 8 klux of light intensity, 50OC, 5% CO2, a photoperiod of 12 hr. per day for 10 days. According the expensive cost of the synthesis castenholtz D medium, vermicompost liquid was used as a medium instead. The comparison were made between the synthesis castenholtz D medium and the vermicompost liquid at the optimum conditions. The maximum cell concentration of 4.26 gl-1 and 4.14 gl-1 were obtained for the cultivation in synthesis castenholtz D medium and the vermicompost liquid respectively. The production was scale up in Bioreactor Membrane that was designed to use flue gas from coal electrical plant using vermicompost liquid as a medium. The algal culivation in Bioreactor Membrane revealed the maximum cell concentration 3.41 gl-1, cell productivity 5.57 gm-2d-1 for the cultivation of 7 days, and total lipid 3.40%. __________ The optimum conditions to grow Synechococcus sp. in 500 ml. flask were studied using synthesis castenholtz D medium. It was found that the conditions were 8 klux of light intensity, 50OC, 5% CO2, a photoperiod of 12 hr. per day for 10 days. According the expensive cost of the synthesis castenholtz D medium, vermicompost liquid was used as a medium instead. The comparison were made between the synthesis castenholtz D medium and the vermicompost liquid at the optimum conditions. The maximum cell concentration of 4.26 gl-1 and 4.14 gl-1 were obtained for the cultivation in synthesis castenholtz D medium and the vermicompost liquid respectively. The production was scale up in Bioreactor Membrane that was designed to use flue gas from coal electrical plant using vermicompost liquid as a medium. The algal culivation in Bioreactor Membrane revealed the maximum cell concentration 3.41 gl-1, cell productivity 5.57 gm-2d-1 for the cultivation of 7 days, and total lipid 3.40%. __________
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ: สาหร่ายสีเขียว
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาระบบ Bioreactor Membrane เพื่อผลิตสาหร่ายโดยใช้น้ำสกัดชีวภาพจากไส้เดือนเป็นสารอาหารอย่างครบวงจร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2552
การทดสอบผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพ (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) ต่อผลผลิตข้าวในนาเกษตรกร การใช้ของเหลือทางการเกษตรในจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อการผลิตปุ๋ยชีวภาพจากแหนแดงและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน การพัฒนายีนคัดเลือกเพื่อใช้ในการปรับปรุงระบบการส่งถ่ายดีเอ็นเอในสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินสไปรูลินาให้มีความเสถียร การคัดเลือกและการหาสภาวะที่เหมาะสมในการกำจัดไนเตรทและฟอสเฟต ด้วยสาหร่ายสีเขียวที่คัดแยกจากน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารสำเร็จรูป การศึกษาปริมาณและการแสดงออกของยีนไฟโคไซยานินในสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และการผลิต heterologous protein ของสารไฟโคไซยานินโดยใช้ระบบแบคทีเรีย ระดับความเข้มข้นของสารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่น ( Caulerpa lentillifera J. Agardh ) ที่มีผลต่อจำนวนสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน แบคทีเรีย และการตายของกุ้งขาว ( Penaeus vannamei Boone,1931 ) ผลของสายพันธุ์และสูตรอาหารต่อประสิทธิภาพการผลิตลิพิดในสาหร่ายสีเขียวขนาดเล็กสกุล Chlorella การผลิตไบโอเอทานอลจากการหมักของยีสต์ทนร้อนโดยใช้ชีวมวลของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน อิทธิพลของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินต่อผลผลิตข้าว กข 23 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญของแหนแดงในท้องถิ่นและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก