สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงเนื้อสัมผัสหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และ พันธุ์พิษณุโลก 2 ให้ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105
เหรียญทอง สิงห์จานุสงค์ - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงเนื้อสัมผัสหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และ พันธุ์พิษณุโลก 2 ให้ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105
ชื่อเรื่อง (EN): Improvement of texture after cooking of Chai Nat 1 and Phitsanulok 2 rice to be similar to Khao Dawk Mali 105 rice
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เหรียญทอง สิงห์จานุสงค์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การนำข้าวที่มีปริมาณอะไมโลสต่ำมายสมกับข้าวที่มีปริมาณอะไมโลสสูงนั้น อัตราส่วนและพันธุ์ ข้าวที่ใช้นั้นยังเป็นความลับของแต่ละโรงสี และไม่มีหลักฐานข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือเอกสาร เผยแพร่ งานวิจัยนี้ มีวัดถุประสงค์พื่อปรับปรุงคุณภาพข้วด้านเนื้อสัมผัสหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ ชัยนาท 1 และพิษณุโลก2 ให้ใกล้เคียงข้าวหอมมะลิ โคยการใช้ข้าวที่มีปริมาณอะไมโลสต่ำมาผสมกับข้าว พันธุ์ชัยนาท1 และพิษณุ โลก2 ในอัตราส่วนที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงเนื้อสัมผัสหลังการหุงต้ม โดยศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมสำหรับการนำข้าวพันธุ์ที่มีปริมาณอะไมโลสต่ำ เช่น พันธุ์ปทุมธานี และ กข มาผสมกับข้าวพันธุ์ชัยนาท และพิษณุโลก2 และศึกษาอัตราส่วนของข้าวต่อปริมาณน้ำ เพื่อให้ได้ คุณภาพค้นเนื้อสัมผัสหลังการหุงตั้มใกล้เคียงกับข้าวขาวดอกมะลิ เ0 ร้อมทั้งศึกษาสมบัติทางกายภาพ เคมี และเคมีกายภาพของข้าวขาวคอกมะลิ10 ชัยนาท1 พิษณุโลก2 ปทุมธานี1 และกข6 และข้าวที่ผสมกัน ในอัตราส่วนต่างๆ ทั้งก่อนและหลังการหุงต้ม ทดสอบตลาด วิเคราะห์ต้นทุนการผลิต และถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่กลุ่มเป้าหมายก่อนการหุงต้ม ข้าวทั้งห้าพันธุ์มีค่าความยาวของเมล็ด 6.93-7.73 มิลลิเมตร ค่าความกว้างของเมล็ด 2.06-2.24 มิลลิเมตร อัตราส่วนความยาวต่อความกว้างของเมล็ด 3.09-3.65 ข้าวพันธุ์กข6 มีค่าความสว่างสูง กว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ ส่วนข้าวขาวดอกมะลิ10 มีค่าต่ำกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (P30.05) องค์ประกอบทางเคมีของ ข้าวทั้งห้าพันธุ์ก่อนการหุงต้มมีความแตกต่างกัน (3-0.05) ปริมาณความชื้นของข้าวทั้งห้าพันธุ์อยู่ในช่วง ร้อยละ 10.90-12.62 ข้าวพิษณุโลก2 มีปริมาณอะไมโลสสูงกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ P=0.05) รองมาคือชัยนาท1 ขาวดอกมะลิ 10 ปทุมธานี และกข ดามลำดับ โคยข้าวพันธุ์กข6 ปทุมธานี และขาวคอกมะลิ1งร จัดอยู่ ในกลุ่มข้าวที่มีปริมาณอะไมโลสต่ำส่วนข้าวชัยนาท!ละพิษณุโลก2จัดอยู่ในกลุ่มข้าวที่มีปริมาณ อะไมโลสสูง ข้าวพันธุ์กข มีปริมาณโปรตีนสูงกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (250.05) ปริมาณโปรดินของข้าวพันธุ์ ปทุมธานี ! ชัยนาท1 และพิษณุโลก2 มิค่ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ข้าวพันธุ์กข มีระยะการไหลของแป้งสุก สูงกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (จ-0.05) รองลงคือข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 และปทุมธานี ! ส่วนข้าวพันธุ์ขาวคอกมะลิ 10ร และชัยนาท! มีระยะการไหลของแป้งสุกต่ำที่สุด (PS0.05)เมื่ออัตราส่วนของข้าวพันธุ์ปทุมธานี1 และกข6 ที่ใช้ผสมกับข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 และชัยนาท1 เพิ่มขึ้น ค่าความยาวของข้าวผสมก่อนการหุงต้มมีค่าลดลง (P30.05) เมื่อเพิ่มอัตราส่วนการผสมของข้าวพันธุ์ ปทุมธานี! กับข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ทำให้คำความสว่างของข้าวผสมมีคำลดลง เมื่อผสมข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 และชัยนาท! กับข้าวกข พบว่าอัตราส่วนของข้าวพันธุ์กข6 ที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ดำความสว่างของข้าวผสม เพิ่มขึ้น (๒-0.05) ข้าวผสมระหว่างพันธุ์พิษณุ โลก2 กับข้าวพันธุ์กข ในทุกอัตราส่วนมีค่าความสว่างสูงกว่า ข้าวผสมพันธุ์อื่นๆ (P30.0s) เมื่ออัตราส่วนการผสมของข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 กับข้าวพันธุ์ปทุมธานี1 เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณ โปรตีนของข้าวผสมลดลง ปริมาณโปรตีนของข้าวชัยนาท ผสมกับข้าวปทุมธานี ในทุก อัตราส่วนไม่แตกต่างกัน (p>0.05) เมื่อเพิ่มปริมาณข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ที่ใช้ผสมกับข้าวพันธุ์ และกข6 (p>0.05) พิษณุ โลก2 และชัยนาท ! ส่งผลให้ปริมาณอะไมโลสของข้าวผสมมีค่าลคลง (P-0.05) การผสมข้าวพันธุ์ พิษณุ โลก2 และชัยนาท กับข้าวพันธุ์ปทุมธานี ทำให้มิปริมาณอะไมโสสูงกว่าการผสมกับข้าวพันธุ์กข6 (P?0.05) การผสมกันระหว่างข้าวทั้งสี่พันธุ์ที่อัตราส่วนที่แตกต่างกันมีปริมาณความชื้นไม่แดกต่างกัน การศึกษาสมบัติทางกายภาพและเคมืของข้าวทั้งห้าพันธุ์หลังการหุงต้ม พบว่าระยะเวลาการหุงสุก ของข้าวพันธุ์ชัยนาท1 (18.00 นาที) และพิษณุโลก2 (19.00 นาที) นานกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (330.05) ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ105 (13.00 นาที) กข6 (14.30 นาที) และปทุมธานี 1 (14.0 นาที) มีระยะเวลาการหุงสุกไม่ แตกต่างกัน (p 0.05) ข้าวพันธุ์พิษณุ โลก2 มีค่าร้อยละของปริมาตรที่เพิ่มขึ้นสูงที่สุด (250.05) รองลงมาคือ ชัยนาท1 กข6 ปทุมธานีเ และขาวดอกมะลิ 0ร ตามลำดับ ร้อยละของการยืดตัวค้านยาวของข้าวทั้งห้าพันธ์ ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ร้อยละของการยืดตัวค้านกว้างของข้าวพันธุ์ปทุมธานี และชัยนาท1 มีค่าสูงกว่าข้าว พันธุ์อื่นๆ (P-0.05) ข้าวพันธุ์กข มีร้อยละ ของการยืดตัวด้านกว้างต่ำกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (P-0.0s) ร้อยละของ การดูดซับน้ำของข้าวพิษณุ โลก2 มีค่าสูงกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (P30.05) รองลงมาคือ ชัยนาท1 ปทุมธานี1 ขาว ดอกมะลิ 10ร และกข ตามลำดับ ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 มิค่าความสว่างสูงกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ ส่วนข้าวพันธุ์กข 6มีค่าความสว่างต่ำกว่าข้าวพันธุ์อื่นๆ (330.05) ปริมาณโปรตีนของข้าวพันธุ์ชัยนาท! และพิษณุโลก2 ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) และมีค่าสูงกว่าข้าวพันธุ์กข ขาวดอกมะลิ10 และปทุมธานี1 ตามลำดับ การศึกษา เนื้อสัมผัสของข้าวทั้งห้าพันธุ์หลังการหุงต้ม พบว่าคุณสมบัติของเนื้อสัมผัสทุกค้านของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และพิษณุโลก2 มีค่าสูงกว่าข้าวพันธุ์ขาวคอกมะลิ10 ปทุมธานี1 และกข6 (P30.05) ทั้งนี้เนื่องจากข้าวทั้ง สองพันธุ์มิปริมาณอะไมโลสสูงจากผลการวิเคราะห์สามารถคัดเลือกพันธุ์ข้าวและอัตราส่วนในการผสมที่ให้เนื้อสัมผัสหลังการหุงต้มใกล้เคียงข้าวขาวคอกมะลิ10ร มากที่สุดคือ ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานี ! ที่อัตราส่วน 60:40 และใช้อัตราส่วนข้าวต่อน้ำคือ แ:2.3 และข้าวพันธุ์ชัยนาท ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานี ! ที่อัตราส่วน ร0:50 และใช้อัตราส่วนข้าวต่อน้ำคือ 1:2.0 ดังนั้น จึงนำข้าวผสมดังกล่าวมาใช้ในการทคสอบความชอบหรือ การยอมรับของผู้บริโภคจำนวน 345 คน เปรียบเทียบกับข้าวขาวคอกมะลิ10s โคยผู้ทดสอบชิมทั้ง 345 คน เคยรับประทานและชอบข้าวสวย เพราะเป็นอาหารหลัก ผู้ทดสอบชิม 340 คน มีความสนใจหากมีการนำ ข้าวสาร 2 พันธุ์มาผสมกันเพื่อให้มีคุณสมบัติใกล้เดียงข้าวหอมมะลิ โดยเหตุผลที่สนใจคือ ราคา รองลงมาคือ คุณค่าทางโภชนาการ ส่วนผู้ทคสอบชิมที่ไม่สนใจมีจำนวน 5 คน โดยเหตุผลที่ไม่สนใจคือ ไม่ชอบ รับประทานข้าวอ่อน ลักษณะที่สำคัญที่สุดที่ผู้บริโภคต้องการในข้าวสารคือ คุณค่าทางโภชนาการ ส่วน ภาชนะบรรจุข้าวสารที่ชอบคือถุงพลาสติก น้ำหนักต่อหนึ่งหน่วยบรรจุที่คิดว่าเหมาะสมในการบรรจุข้าวสาร คือ 5 กิโลกรัม ราคาขายต่อหนึ่งหน่วยบรรจุที่คิดว่าเหมาะสมและเต็มใจที่จะซื้อคือ 200 - 250 บาท ส่วน ปัจจัยที่สำคัญที่สุด ที่มือิทธิพลต่อการดัดสินใจซื้อข้าวสารคือ ราคา รองลงมาคือ คุณค่าทางโภชนาการ คะแนนความชอบของทุกคุณลักษณะที่ทดสอบของข้าวพันธุ์พิษณุ โลก2 ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานีI และ ข้าวพันธุ์ชัยนาท ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานี อยู่ในช่วง ชอบเล็กน้อย - ชอบปานกลาง ในขณะที่ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ10 ได้รับคะแนนความชอบของทุกคุณลักษณะที่ทดสอบอยู่ในช่วง ชอบปานกลาง - ชอบมาก อย่างไรก็ตาม ข้าวผสมที่ได้รับการคัดเลือกจากงานวิจัยนี้ก็ยังได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างดี เมื่อ พิจารณาต้นทุนของการนำข้าวมาผสมเปริยบเทียบกับข้าวพันธุ์ขาวคอกมะลิ1 0s พบว่า ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานี ! ที่อัตราส่วน 60:40 และข้าวพันธุ์ชัยนาท ! ผสมกับข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ที่ อัตราส่วน 50:50 มีต้นทุน 20-25 บาทต่อกิโลกรัม ซึ้งมีราคาถูกกว่าข้าวพันธุ์ขาวคอกมะลิ 0s ที่มีราคาสูงถึง 33-37 บาทต่อกิโลกรัม เมื่อทำการถ่ายทอดเทค โนโลยีที่ได้จกงานวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 32 คน พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมให้คะแนนความพึงพอใจทั้งในรูปแบบการอบรมและเนื้อหาทั้งภากบรรยายและภาคปฏิบัติ การในระดับดีมาก โดยสรุป สามารถปรับปรุงเนื้อสัมผัสหลังกรหุงต้มของข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 และ ชัยนาท 1 ให้ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ10 ได้ โดยการนำข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 มาผสมในอัตราส่วนที่ เหมาะสม
บทคัดย่อ (EN): Utilization of low amylose content rice mixing with high amylose content rice, ratio of mixing and rice varieties of using is still a secret for each rice mill and there has been no written data or publications. The objective of this research was to improve the texture after cooking of Chainat | and Phitsanulok2 rice to be similar to that of Khao Dawk Mali105 rice by using low amylose content rice mixed with Chainatl and Phitsanulok2 rice in appropriate ratio in order to improve the texture after cooking. The suitable ratio of low amylose content rice such as Patumthani 1 and RD6 rice to mix with Chainat1 and Phitsanulok2 rice and the ratio of rice to water were determined due to obtaining texture quality after cooking be similar to that of Khao Dawk Mali105 rice. The physical, chemical and physicochemical properties of Khao Dawk Mali105, Chainat 1, Phitsanulok2, Patumthanil and RD6 and mixed rice at different ratio before and after cooking were investigated. Furthermore, marketing test, inventory cost and technology transfer to target group were conducted. Before cooking, all five rice varieties had the length of grain 6.93-7.73 mm, breadth of grain 2.06- 2.24 mm, length-breadth ratio 3.09-3.65. RD6 rice bad significantly higher lightness value than that of other rice whereas Khao Dawk Mali105 had significantly lower lightness value than that of other rice (p?0.05). The chemical composition of five rice varieties before cooking were significantly different (p?0.05). The moisture content of five rice varieties was 10.90-12.62%. Phitsanulok2 rice had the amylose content significantly higher than that of other rice (PS0.05), following by Chainat1, Khao Dawk Mali105, Patumthani l and RD6, respectively. Khao Dawk Mali105, Patumthanil and RD6 rice were classified into low amylose content rice group while Chainat1 and Phitsanulok2 rice were classified into high amylose content rice group. RD6 rice had significantly higher protein content than that of other rice (P?0.05). The protein content of Patumthari1, Chainatl and Phitsanulok2 rice was not significantly different (p>0.05). RD6 rice had significantly higher alkali spreading value than that of other rice (PS0.05), following by Phitsanulok2 and Patumthanil whereas Khao Dawk Mali105 and Chainat1 rice had significantly lowest (p?0.05). Increasing the ratio of mixing between Patumthanil and RD6 rice to that of Phitsanulok2 and Chainatl rice, the length of grain of mixing rice before cooking was significantly decreased (P?0.05). Increasing the ratio of mixing between Patunthanil and Phitsanulok2 rice, the lightness value decreased. When mixing Phitsanulok2 and Chainatl rice with RD6 rice, increasing ratio of RD6 rice resulted in significantly increased lightness value of mixed rice (PS0.05). All mixing ratio between Phitsanulok2 and RD6 rice had significantly higher lightness value than that of other mixed rice (P?0.05). Increasing the mixing ratio between Phitsanulok2 and Patumtbani l rice reduced the protein content of the mixed rice. All mixing ratio between Chainatl and Patumthanil rice had no significant differences in protein content (p >0.05). Increasing the ratio of mixing between Patumthani l and RD6 rice with that of Phitsanulok2 and Chainatl rice, the amylose content of mixed rice significantly decreased (P?0.05). Mixing of Phitsanulok2 and Chainatl rice with Patumthanil rice increased the amylose content of the mixed rice higher than that mixing with RD6 rice (PS0.05). Mixing of four rice varieties at different ratio resulted in no significant differences in the moisture content of the mixed rice (p>0.05). The study of physical and chemical properties after cooking of five rice varieties showed that cooking time of Chainat1 rice (18.00 min) and Phitsanulok2 rice (19.00 min)nwas significantly longer than that of other rice (Ps0.05). Khao Dawk Mali105 (13.00 min), RD6 (14.30 min) and Patumthanil (14.00 min) had no significant differences in cooking time (p>0.05). Phitsanulok2 rice had the highest percentage of increasing volume (PS0.05), following by Chainatl, RD6, Patunthanil and Khao Dawk Malil05, respectively, Percentage of length elongation of five rice varieties was not significantly different (p>0.05). Percentage of breadth elongation of Patumthanil and Chainatl rice was significantly higher than that of other rice (P0.05) and it was higher than that of RD6, Khao Dawk Mali105 and Patumthani l, respectively. The texture after cooking of five rice varieties revealed that all texture properties of Chainat1 and Phitsanulok2 rice were significantly higher than that of Khao Dawk Mali105, Patumthani l and RD6 (PS0.05). This was mainly due to these two rice varieties had high amylose content. From the results, the most appropriate rice variety and mixing ratio could be selected in order to get the texture after cooking of mixed rice similar to that of Khao Dawk Mali105 rice. These were Phitsanulok2 mixed with Patunthanil rice at the ratio of 60 :4 O and rice to water ratio of 1 :2.3 and Chainat1 mixed with Patumthanil rice at the ratio of 50:50 and rice to water ratio of 1:2.0. Therefore, the selected mixed rice was used for the liking test or acceptance test of 345 consumers compared to Khao Dawk Mali105 rice. All 345 consumers used to consume and liked cooked rice because it was the main course. Three bundred and forty consumers interested in mixing of 2 rice varieties due to obtaining properties similar to that of Khao Dawk Mali105 rice. The reason for this was the price, following by the nutrition. Five consumers were not interested in mixed rice because they didnt like soft texture rice. The most important characteristic of rice grain that consumers wanted was the nutrition. The package of rice grain that consumers liked was the plastic bag with the appropriate weight of 5 kg and the price of 200-250 Baht. The most important factor that affected the decision making of purchase was the price, following by the nutrition. The liking scores of all tested sensory attributes of Phitsanulok2 mixed with Patumthanil rice and Chainat1 mixed with Patumthanil rice was in the range of like slightly - like moderately while for that of Khao Dawk Mali105 was in the range of like moderately - like very much. However, the selected mixed rice from this research was well accepted by the consumers. When the inventory cost of mixed rice was compared to that of Khao Dawk Mali105 rice, it was found that Phitsanulok2 mixed with Patumthani l rice at the ratio of 60:40 and ChainatI mixed with Patuntlanil rice at the ratio of 50:50 bad the inven cost of 20-25 Baht/kg which was cheaper than that of Khao Dawk Mali105 rice which had the cost of 33- 37 Baht/kg. The technology transfer was conducted to the target group of 32 people and it was found that all attendees had the happiness scores both format and content of both theory and practical sessions in the level of very good. In conclusion, the texture after cooking of Phitsanulok2 and Chainatl could be improved similary to that of Khao Dawk Mali105 by mixing with Patumthani l rice at an appropriate ratio.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงเนื้อสัมผัสหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และ พันธุ์พิษณุโลก 2 ให้ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105
มหาวิทยาลัยนเรศวร
30 กันยายน 2553
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การปรับปรุงกลิ่นหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และพันธุ์พิษณุโลก 2 ให้ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลของพาโคลบิวทราโซลต่อคุณภาพของข้าวดอกมะลิ 105 และผลตกค้างของสารในข้าว คุณภาพข้าวสุกจากการผสมข้าว กข 23 และ ชัยนาท 1 ในขาวดอกมะลิ 105 คุณภาพข้าวสุกจากการผสมข้าวชัยนาท 1 และ กข 23 ในขาวดอกมะลิ 105 พันธุ์ข้าวเจ้าชัยนาท 1 พันธุ์ข้าวรับรองพันธุ์ใหม่ โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของข้าวกล้องงอกนึ่งสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 การรวบยอดยีนต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 3 ชนิด จากข้าวสายพันธุ์ผสมกลับ BC4F3-4 [(ราตูฮีเนติ/ขาวดอกมะลิ 105) X ชัยนาท 1] และ [(อาบาญ่า/ขาวดอกมะลิ 105) X ชัยนาท 1] การพัฒนาสายพันธุ์ข้าวปรับปรุง ราตูฮีเนติ/ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ชัยนาท 1 รุ่น BC4F1 ที่มียีนต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลแบบ Bph3 โดยเทคนิคการคัดเลือกด้วยดีเอ็นเอเครื่องหมาย การรวบรวมข้อมูลข้าวขาวดอกมะลิ 105 พันธุ์กลายเพื่อการขอรับรองพันธุ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก