สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งประเภททอรี่ไฟล์ทดแทนถ่านหินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
อัครินทร์ อินทนิเวศน์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: ศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งประเภททอรี่ไฟล์ทดแทนถ่านหินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อัครินทร์ อินทนิเวศน์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ซึ่งแต่ละปีจะมีการผลิตพืชผลทางการเกษตรเป็นจำนวนมาก จึงทำให้เกิดเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเป็นจำนวนมากเช่นกัน และมีการประมาณกันว่าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในประเทศไทยมีมาถึง 50 ล้านตันต่อปี (Bhattacharya, 1990)ประกอบไปด้วยเศษวัสดุที่ยังมีประโยชน์ซึ่งจะถูกแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ และเศษวัสดุที่ไม่มีประโยชน์ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งและกลายเป็นปัญหาของเกษตรกรในการที่จะกำจัดทิ้ง วิธีการกำจัดทิ้งของเกษตรกรโดยส่วนมากจะใช้วิธีการเผาทิ้ง ทำให้กลายเป็นปัญหาด้านมลภาวะทางอากาศตามมา โดยเฉพาะทางภาคเหนือที่มีภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ การเผาทำลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในฤดูแล้ง ซึ่งเป็นฤดูที่มีความกดทางอากาศสูง ทำให้ควันจากการเผาไม่สามารถลอยขึ้นที่สูงได้ ทำให้เกิดปัญหาอย่างหนักและยังไม่สามารถแก้ไขได้ ดังแสดงในตารางที่ 1 สาเหตุเพราะขาดปัจจัยเกื้อหนุนในหลายๆด้าน เช่น ด้านความร่วมมือของเกษตรกร ด้านองค์ความรู้ในการจัดการ ขาดการให้คำแนะนำของภาครัฐหรือองค์กรที่มีความรู้ ปัญหาดังกล่าวจึงส่งผลทั้งในด้านสุขภาพและการท่องเที่ยว
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: วิทยาลัยพลังงานทดแทน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-57-008.1
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งประเภททอรี่ไฟล์ทดแทนถ่านหินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2557
การพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลและไบโอชาร์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกโนเซลลูโลสโดยแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับไลเคนเพื่อย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การพัฒนาศักยภาพของระบบการผลิตกุ้งก้ามกรามในเขตภาคเหนือ วัสดุเหลือใช้จากตาลโตนดมาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตไฟฟ้าชีวมวล การเพิ่มคุณภาพชีวมวลเหลือใช้ทางการเกษตรโดยกระบวนการเพิ่มความหนาแน่นและทอร์รีแฟคชั่นสำหรับการผลิตไฟฟ้าเพื่อชุมชน พันธุศาสตร์ของลักษณะทางการเกษตรต่างๆ ในงา การเพิ่มมูลค่าการใช้ประโยชน์ของเถ้าลอยชีวมวลเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตอ้อยและมันสำปะหลัง โครงการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากตะกอนพลาสติกผสมชีวมวลโดยใช้กระบวนการทอริแฟคชัน (นางสาวรัตนาภรณ์ พันธุรัตน์) ประสิทธิภาพการผลิตลำไยของเกษตรกรในเขตภาคเหนือตอนบน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก