สืบค้นงานวิจัย
ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบเขียว ที่ผลิตในภาคใต้ของประเทศไทย
สรพงค์ เบญจศรี - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบเขียว ที่ผลิตในภาคใต้ของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Consumers’ satisfaction morphology of Okra production in southern Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สรพงค์ เบญจศรี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Sorapong Benchasri
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวใน 8 ลักษณะ ได้แก่ ความ ยาวฝัก ขนาดฝัก ผิว (ขน) ของฝัก รูปร่างฝัก สีของฝัก รสชาติ สี และสารเมือก ณ สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดพัทลุง ผลการทดลองพบว่า การประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ กระเจี๊ยบเขียวไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นสีฝักและสีต้น ซึ่งมี 3 สี ประกอบด้วย สีเขียวเข้ม สีเขียวอ่อน และสีเขียวปน แดง ลักษณะความพึงพอใจของผู้บริโภค พบว่ากระเจี๊ยบเขียวสายพันธุ์ KN–OYV–02 มีคะแนนสูงสุดเท่ากับ 4.10 คะแนน รองลงมาคือ สายพันธุ์ลักกี้ไฟล์ 473, พจ. 03, KN – OYV – 11, KN – OYV – 13, TVRC 064, KN – OYV – 16, NO 71, KN – OYV – 03, KN – OYV – 25, KN – OYV – 04, KN – OYV – 14 และ สายพันธุ์ PC 52S5 มีคะแนนเท่ากับ 3.72, 3.57, 3.45, 3.44, 3.44, 3.40, 3.35, 3.32, 3.26, 3.11, 3.09 และ 3.06 คะแนนตามลำดับ ส่วนกระเจี๊ยบเขียวสายพันธุ์ KN – OYV – 01 และสายพันธุ์ OP คือสายพันธุ์ที่ผู้บริโภคมีความพอใจเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.02 คะแนน
บทคัดย่อ (EN): The consumers’ satisfaction on morphology of okras was investigated in eight characteristics such as pod length, pod size, trichome, pod shape, pod color, taste, pod color and mucilage in side boiled pods at the Department of Plant Science, Faculty of Technology and Community Development, Thaksin University, Phatthalung province. The results showed that morphological characteristic had no difference between their accessions, except podsand stem color which could be separated into three groups;dark green, light green and reddish green. KN–OYV–02 gave the highest average consumers’ satisfaction at 4.10 points. Subsequently, Lucky file 473, PJ.03 and KN–OYV–11, KN – OYV – 13, TVRC 064,KN – OYV – 16, NO 71, KN – OYV – 03,KN – OYV – 25, KN – OYV – 04, KN – OYV – 14 and PC 52S5 which had average satisfaction of 3.72, 3.57, 3.45, 3.44, 3.44, 3.40, 3.35, 3.32, 3.26, 3.11, 3.09 and 3.06 points, respectively. The lowest average consumers’ satisfaction were KN – OYV – 01 and OP.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=94P-HORT-015.pdf&id=927&keeptrack=8
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบเขียว ที่ผลิตในภาคใต้ของประเทศไทย
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2556
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยา ลักษณะนิเวศวิทยาของโสนในเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และผลผลิตของโสนในพื้นที่ปลูก ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของมะม่วงพันธุ์ต่างๆ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของหงส์เหินชนิด Globba winitii Gangnep ผลของแคลเซียมซิลิเกตต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาของใบของมะเขือเทศ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อรา Colletotrichum spp. โดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและเทคนิค ISSR ลักษณะสัณฐานวิทยาลำไส้เล็กของโคเนื้อลูกผสมชาโรเลส์ที่เลี้ยงด้วยอาหารที่มีผลิตผลร่วมของสับปะรด ลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพการดูดใช้ฟอสฟอรัสของข้าวที่ปลูกในสภาพที่มีฟอสฟอรัสต่างรูปกัน ผลของลักษณะสัณฐานวิทยาของมะเขือเทศที่มีต่อการเจริญเติบโตและการขยายพันธุ์ของแมลงหวี่ขาว Bemisia tabaci (G.) (Hemiptera: Aleyrodidae) ศึกษาโครงสร้าง สัณฐานวิทยา การวิเคราะห์องค์ประกอบธาตุเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของเปลือกไข่นกไทยโดยนาโนเทคโนโลยี การศึกษาหาปริมาณน้ำใช้ที่เหมาะสมของกระเจี๊ยบเขียว (ปีที่ 1) 

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก