สืบค้นงานวิจัย
ผลของข้าวกล้องงอกต่อการลดความเป็นพิษของเซลล์ตับของหนูแรทภายหลังการได้รับ Dextromethorphan
รองศาสตราจารย์ ดร.สุทิสา ถาน้อย - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: ผลของข้าวกล้องงอกต่อการลดความเป็นพิษของเซลล์ตับของหนูแรทภายหลังการได้รับ Dextromethorphan
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สุทิสา ถาน้อย
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: วัตถุประสงค์หลักของโครงการ เพื่อประเมินผลของข้าวกล้องงอกในการลดความเป็นพิษต่อเซลล์ ภายหลังจากการติดสาร Dextromethorphan โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. เพื่อทราบผลความเป็นพิษของสารเสพติด Dextromethorphan ต่อความผิดปกติทางรูปร่าง (morphology) ของเซลล์, ปริมาณโปรตีน (protein content) และ ปริมาณสารพันธุกรรม (DNA content) ของเซลล์ตับ 2. เพื่อทราบผลของข้าวกล้องงอก (Pre-germinated brown rice) ต่อการลดความเป็นพิษของเซลล์ตับ (hepatotoxicity) จากการได้รับสาร Dextromethorphan
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของข้าวกล้องงอกต่อการลดความเป็นพิษของเซลล์ตับของหนูแรทภายหลังการได้รับ Dextromethorphan
มหาวิทยาลัยนเรศวร
30 กันยายน 2559
ผลของข้าวกล้องงอกต่อการเปลี่ยนแปลงระดับโปรตีนเบรนดีไรว์นิวโรโทรปิกแฟคเตอร์ เซลล์ประสาทในสมองส่วนฮิปโปแคมปัสและเซลล์ตับของหนูขาวที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดความจำบกพร่อง ผลการเสริมข้าวกล้องงอกในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยวจากเนื้อโค ผลของสารสกัดจากข้าวกล้องงอกต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการสลายไขมันในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ของหนู การศึกษาความเป็นพิษแบบฉับพลันและแบบเรื้อรังจากการได้รับข้าวยีสต์แดงในหนู ผลของการใช้น้ำตาลโตนดต่อคุณภาพของไอศกรีมน้ำนมข้าวกล้องหอมนิลงอก ศึกษาผลของอุณหภูมิในการลดความชื้นที่มีต่อปริมาณกรดแกมมาแอมิโนบิวทิริก ในผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดว่านอึ่งต่อระบบหลอดเลือดปอดหนู ผลของชนิด ความเข้มข้น และขั้นตอนการใช้น้ำสมุนไพรต่อสารต้านอนุมูลอิสระในข้าวกล้องงอก ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดใบกฤษณาและสารสำคัญต่อระบบหัวใจร่วมหลอดเลือดหนู ผลของ angiopoietin 1 และ 2 ต่อการตายของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหลังจากการขาดเลือด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก