สืบค้นงานวิจัย
ผลของการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับการจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานีในชุดดินสรรพยา
อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับการจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานีในชุดดินสรรพยา
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of compost and site-specific fertilization regimes on growth and grain yield of Pathum Thani rice grown in Sappaya Soil series
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Auraiwan Isuwan
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับการจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่ต่อการเจริญ เติบโตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าวพันธุ์ปทุมธานีที่ปลูกในชุดดินสรรพยา วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายใน บล๊อก ประกอบด้วย 6 สิ่งทดลองๆ ละ 6 ซ้ำ ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยหมัก (control) 2) ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัมต่อไร่ ) 3) ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (site-specifc fertilization, SSF) 4) ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี 0.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน (C...+ 0.5SSF) 5) ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (C..+SSF) 6) ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี 2 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน (C.50 วัน C..+2SSF มีค่าเฉลี่ยความสูง (p<0.05) มากกว่าสิ่งทดลองอื่นๆ ที่อายุ 50 วัน สิ่งทดลอง C ..+SSF ให้ค่าเฉลี่ยจำนวน oo+ 2SSF) ผลการทดลอง พบว่า ที่อายุ 30 และต้นต่อกอสูงที่สุด ไม่แตกต่าง (p>0.05) กับสิ่งทดลอง SSF, C..+0.5SSF และ C+2SSF แต่แตกต่าง (ว<0.05) กับ control และ C องค์ประกอบผลผลิตของข้าว ได้แก่ น้ำหนัก 100 เมล็ด เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ และจำนวนเมล็ดต่อรวง C...+SSF ให้ ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ไม่แตกต่างกับ C +0.5SSF และ C..+2SSF แต่แตกต่าง (ว<0.05) กับ control. C...และ SSF นอกจากนี้ ผลผลิตของข้าวใน C500+2SSF มื้คำเฉลี่ยผลผลิตสูงที่สุด (951 กิโลกรัมต่อไร่) ไม่แตกต่างกับ C +SSF (922 กิโลกรัมต่อไร่) แต่แตกต่าง (p<0.05) กับ control และกลุ่มที่ได้รับปุ๋ยในอัตราที่ต่ำกว่า อย่างไรก็ตาม เมื่อคิดผลตอบแทนหลังหักต้นทุน ค่าปุ๊ย พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา SSF มีค่ตอบแทนสูงที่สุด (8,275 บาทต่อไร่) จากผลการทดลองนี้สรุปได้ว่า การใส่ปุ๋ย เคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการใส่ปุ๋ยหมักสำหรับข้าวพันธุ์ปทุมธานีที่ปลูกในชุดดินสรรพยาเป็นวิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม
บทคัดย่อ (EN): The objective of this experiment was to investigate the effects of compost and site-specific fertilization (SSF) regimes on growth and yield components of Pathum Thani rice grown in Sappaya Soil series. A complete randomized design with 6 replications was used. The treatments were different fertilization regimes, namely: 1) no fertilizer (control), 2) 500kg/rai of compost (C500), 3) site-specific synthetic fertilization (SSF), 4) 500 kg/rai of compost + 0.5 SSF (C500+0.5SSF), 5) 500 kg/rai of compost + SSF (C500+SSF), and 6) 500 kg/rai of compost + 2 SSF (C500+2SSF). Plant heights at 30 and 50 days after transplanting (DAT) were highest (p<0.05) in C500+2SSF. At 50 DAT, tiller numbers of rice in all SSF regimes were not different (p>0.05), but all were greater (p<0.05) than those of C500 and control. Yield components, i.e. 100-grain weights, infertile percentages, and grains per spike were not different (p>0.05) among C500+0.5SSF, C500+SSF and C500+2SSF regimes, but were greater (p<0.05) than those of others. Grain yields were not different (p>0.05) between C500+2SSF (951 kg/rai) and C500+SSF (922 kg/rai), but were greater (p<0.05) than those of others. Economic return over fertilizer cost in SSF (8,275 Baht/rai) was greatest (p<0.05). Based on the results of this experiment, the use of SSF fertilization combined with compost application is recommended for growing Pathum Thani rice in Sappaya Soil series.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=12 Auraiwan.pdf&id=1718&keeptrack=6
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับการจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานีในชุดดินสรรพยา
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการใช้วัสดุอินทรีย์เหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อการปรับปรุงดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวหอมกระดังงา (สายพันธุ์พื้นเมือง) ผลของปุ๋ยหมักเติมอากาศต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของดาวเรือง ผลของการจัดการปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินต่อผลผลิตและประสิทธิภาพการใช้ธาตุไนโตรเจนจากปุ๋ยของข้าวสุพรรณบุรี 1 ที่ปลูกในชุดดินวัฒนา ผลของสาร Trinexapac-ethyl สารเร่งการสุกแก่ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตน้ำตาลของข้าวฟ่างหวาน ผลของไคโตซานฉายรังสีต่อการเจริญเติบโต การให้ผลผลิต และการต้านทานโรคในข้าว อิทธิพลของการไถกลบโสนที่มีต่อสภาวะของธาตุอาหารต่าง ๆ ในดินและผลผลิตข้าวขึ้นน้ำ ผลของการขาดน้ำในระยะการเจริญเติบโตต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลของระดับฟอสฟอรัสที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ผลของปุ๋ยน้ำต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดและอ้อย ผลของการใช้ปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานี 80 ในดินเค็ม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก