สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
ณัฐวุฒิ ดุษฎี - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): Energy development from Agricultural Wastes to decrease the Pollution in Northern Region
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ณัฐวุฒิ ดุษฎี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Nattawud Dussadee
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาแนวทางการจัดการวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควันเป็นพิษ ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาค้านมลพิษทางอากาศ โดยนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนในรูปต่างๆ ได้แก่ เชื้อเพลิงอัดแท่ง ก๊ซชีวกาพ และเอทานอล จากการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งประเภททอรีไฟด์โดยการใช้วัสดุ 4 ชนิดคือ ขี้เสื่อยจากก้อนเชื้อเห็ด ซังข้าวโพค ฟางข้าวและเศบใบไม้ โดยใช้ตัวประสานคือแป้งมันและปูนขาวที่อัตราส่วนตัวประสานร้อยละ 10-50 โดยน้ำหนักของชีวมวล ผลการทดสอบการอัดแท่งพบว่า ชีวมวลอัดแท่งที่ได้มีความหนาแน่นสูงสุดอยู่ในช่วง 750-1, 000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และมีค่าความร้อนอยู่ในช่วง 12-16 เมกกะจูลต่อกิโลกรัม ชนิดของชีวมวลรวมทั้งปริมาณและสัดส่วนของตัวประสานจะส่งผลโดยตรงกับความหนาแน่นและค่าความร้อนของแท่งเชื้อเพลิง เมื่อผ่านกระบวนการทอรีแฟคชันที่ช่วงอุณหภูมิ 200-300 องศาเซลเชียส เป็นเวลา 10-90 นาที เชื้อเพลิงอัดแท่งที่ได้จะมีความชื้นต่ำ ปริมาณสารระเหยลดลง ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงจะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในปฏิกิริยา จากการศึกษาการผลิตก๊เซชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในชุดทดสอบระดับห้องปฏิบัติการ พบว่า ที่ระยะเวลาการหมัก 30 วัน ได้ปริมาณก๊าซชีวกาพสะสมสูงสุด 149.73 ลิตรต่อ กิโลกรัมของแข็งระเหยได้ จากฟางข้าว รองลงมา 149.61 ต่อกิโลกรัมของแข็งระเหยได้ จากก้อนเชื้อเห็ด, 143.77 ต่อกิโลกรัมของแข็งระเหยได้ จากซังข้าวโพด และ 91.20 ต่อกิโลกรัมของแข็งระเหยได้ จากเศยกิ่งไม้ใบไม้ ตามลำดับ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยมีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 47-59 และเมื่อทดสอบระบบผลิตก๊าซชีวภาพในสภาพไร้อากาศแบบแห้ง ขนาด 100 ลิตร พบว่าสามารถผลิตก๊าซชีวภาพจากฟางข้าว ที่ระยะเวลาการหมัก 45 วันได้ปริมาณก๊าซชีวภาพเฉลี่ย 31.24 ลิตรต่อวัน คิดเป็นปริมาณก๊ซชีวภาพสะสมทั้งหมด 767.54 ลิตรต่อกิโลกรัมของแข็งระเหยได้ ที่องค์ประกอบก๊ซมีเทนสูงสุด 63.2 เปอร์เซ็นต์ และให้ค่าประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยได้มีค่า 56.38 เปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาการผลิตเอทานอลจากฟางข้าว และชังข้าวโพด โคยวิธี ไฮโคร ไลชิส พบว่า ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ดตลงมากที่สุดที่เวลา 72 ชั่วโมง น้ำตาลรีคิวซ์จกฟางข้าวและชังข้าวโพคลดลง 18.20 และ 22. 17 มก/มล ซึ่งจะเที่น ได้ว่าที่น้ำตาลลดลงนั้นเกิดจากยีสต์ได้ใช้น้ำตาลในการทำปฎิกิริยในการเปลี่ยนน้ำตาลเป็นเอทานอล โดยมีปริมาณอทานอลจากฟางข้าว และซังข้าวโพดสูงสุด เท่ากับ 2.00% และ 5.20%/ ตามลำดับ จากการศึกษาการพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เป็นแนวทางในการลดปัญหาหมอกควันเป็นพิษในพื้นที่ภาคเหนือ แนวทางดังกล่าว จะสามารถลดปัญหามลภาวะทางสิ่งแวคล้อมที่เกิดจากการเผาทิ้ง กระจายรายได้สู่เกษตรกรและท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็นการพึ่งพาตนเองตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้วย
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: วิทยาลัยพลังงานทดแทน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-57-008
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: https://researchex.mju.ac.th/research60/library/ab/MJU1-57-008.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
พันธุศาสตร์ของลักษณะทางการเกษตรต่างๆ ในงา ศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งประเภททอรี่ไฟล์ทดแทนถ่านหินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ ศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในสภาพไร้อากาศแบบแห้ง การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกโนเซลลูโลสโดยแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับไลเคนเพื่อย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การผลิตสารชีวภัณฑ์จากจุลินทรีย์ลำไส้ปลวกเพื่อการเกษตรพลังงานและสิ่งแวดล้อม การสร้างและพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การพัฒนาการหมักร่วมระหว่างวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรกับสาหร่ายและการศึกษาการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพด้วยสาหร่าย การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต พลวัตและการจัดการการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การเพิ่มค่าความร้อนของโปรดิวเซอร์แก๊สที่ผลิตจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรผ่านกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันโดยใช้ไอน้ำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก