สืบค้นงานวิจัย
สัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส
หัสพงศ์ สมชนะกิจ, นพรัตน์ เรืองปฏิกรณ์, หัสพงศ์ สมชนะกิจ, นพรัตน์ เรืองปฏิกรณ์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส
ชื่อเรื่อง (EN): Sessile Macrofauna Communities on Artificial Reefs in Narathiwat Province
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาร้อยละการปกคลุมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ในแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลรถยนต์บริเวณจังหวัด นราธิวาส พบว่าวัสดุมีทั้งที่วางซ้อนกัน และวางเป็นคันเดี่ยวๆ เรียงกันบนพื้นทราย ที่ระดับความลึกประมาณ 20 เมตร สิ่งมีชีวิตที่พบบริเวณด้านบนของคันรถ ส่วนใหญ่เป็นหอยนางรม (Dendostrea folium) มีร้อยละ เฉลี่ย 45.35 รองลงมา คือ เพรียงหิน (Balanus sp.) ร้อยละ 27.14 ฟองน้าเคลือบ (Encrusting sponge) ร้อยละ 26.10 และอื่น ๆ (ซากเปลือกหอย ปะการังอ่อนฯ) ร้อยละ 1.40 บริเวณด้านข้างของคันรถมีเพรียง หิน ขึ้นปกคลุมมากสุด ร้อยละ 41.98 รองลงมา ได้แก่ หอยนางรม ร้อยละ 35.40 ฟองน้าเคลือบ ร้อยละ 20.47 อื่น ๆ ร้อยละ 1.90 และบริเวณที่ว่างเปล่า ร้อยละ 0.25
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-05-01
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส
กรมประมง
1 พฤษภาคม 2555
กรมประมง
ความชุกชุมของปลาบริเวณปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส ชนิดและปริมาณของสัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียมที่จัดวางในระดับความลึกน้ำต่างกันบริเวณจังหวัดปัตตานี ศักยภาพของพื้นที่ในการจัดสร้างปะการังเทียมเพื่อการประมง การเปรียบเทียบโครงสร้างประชาคมและผลจับสัตว์น้ำระหว่างแปล่งปะการังเทียมและและกลุ่มปะการังเทียมบริเวณจังหวัดพังงา การศึกษาลักษณะพื้นทะเล การจมตัว และชนิดสัตว์น้ำที่อาศัยบริเวณกองปะการังเทียม จังหวัดเพชรบุรี การศึกษาเปรียบเทียบพรรณปลาบริเวณปะการังเทียม ที่จัดสร้างด้วยวัสดุต่างกัน ในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส ประชาคมปลาในปะการังเทียมที่จัดวางในระดับความลึกน้ำต่างกันบริเวณจังหวัดปัตตานี ศึกษาการควบคุมศัตรูลองกองแบบผสมผสานในจังหวัดนราธิวาส สถานะของธาตุอาหารในใบปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดนราธิวาส การย้อมสีเส้นไหมด้วยพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดบริเวณป่าพรุ จังหวัดนราธิวาส

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก